Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43819
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบัณฑิต เอื้ออาภรณ์en_US
dc.contributor.advisorสุรชัย ชัยทัศนีย์en_US
dc.contributor.authorสิริกัลยา พัชนีen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:45:11Z
dc.date.available2015-06-24T06:45:11Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43819
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้นำหลักการหาค่าเหมาะสมด้วยวิธีการเคลื่อนที่ของกลุ่มอนุภาค (Particle Swarm Optimization) มาประยุกต์ใช้ในการคำนวณความสามารถในการส่งกำลังไฟฟ้าสูงสุดที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาความสามารถในการส่งกำลังไฟฟ้าสูงสุดของ กฟผ. พร้อมทั้งนำเสนอการกำหนดความสามารถในการส่งกำลังไฟฟ้าสูงสุดของระบบโดยอาศัยการจำลองเหตุการณ์แบบมอนติคาร์โล (Monte Carlo’s Simulation) จากนั้นจึงได้นำดัชนีเสถียรภาพแรงดันของสายส่งมาใช้ในการวิเคราะห์มาตรฐานการปฏิบัติการควบคุมระบบไฟฟ้าของ กฟผ. นอกจากนี้ยังได้นำหลักการหาค่าเหมาะสมดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหาระบบไฟฟ้าตามแนวทางการปฏิบัติของ กฟผ. ซึ่งความสามารถในการส่งกำลังไฟฟ้าสูงสุดของระบบสามารถเพิ่มขึ้นด้วยการติดตั้งอุปกรณ์ชดเชยกำลังไฟฟ้ารีแอคทีฟ (Static VAR Compenstor) ในระบบไฟฟ้า วิธีการที่นำเสนอนั้นได้นำไปทดสอบกับระบบไฟฟ้าเชื่อมโยงภาคใต้กับภาคกลางตะวันตกสมมูลของประเทศไทยในปี 2547 และปี 2557 ผลการทดสอบพบว่าวิธีการที่นำเสนอสามารถใช้คำนวณความสามารถในการส่งกำลังไฟฟ้าสูงสุด และสามารถใช้ในการแก้ไขปัญหาของระบบไฟฟ้าได้อย่างเหมาะสมen_US
dc.description.abstractalternativeThis thesis proposes the calculation of maximum power transfer capability which conforms with EGAT’s power system study standard, by using Particle Swarm Optimization (PSO) method. In addition, this thesis applies Monte Carlo’s Simulation to evaluate maximum power transfer capability of the system. Voltage stability indexes are used to analyze EGAT’s power system operations. PSO is applied to find optimal load shedding for solving system problems. Static VAR Compensator (SVC) is installed to increase maximum power transfer capability. The proposed methods are tested on Thailand’s transmission systems of the years 2004 and 2014. The results show that the proposed method can calculate the maximum power transfer capability and can find the optimal load shedding for solving system problem accurately.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1276-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการส่งกำลังไฟฟ้า
dc.subjectแรงเคลื่อนไฟฟ้า
dc.subjectElectric power transmission
dc.subjectElectromotive force
dc.titleการคำนวณความสามารถในการส่งกำลังไฟฟ้าสูงสุดระหว่างสองพื้นที่ที่ต่อถึงกัน โดยพิจารณาเสถียรภาพแรงดันในระบบไฟฟ้ากำลังen_US
dc.title.alternativeCALCULATION OF MAXIMUM POWER TRANSFER CAPABILITY BETWEEN TWO INTERCONNECTED AREAS BY CONSIDERING VOLTAGE STABILITY IN POWER SYSTEMen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorBundhit.E@chula.ac.then_US
dc.email.advisorsurachai.c@chula.ac.th
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.1276-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5470418021.pdf13.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.