Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43921
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorญาใจ ลิ่มปิยะกรณ์en_US
dc.contributor.authorปรียานุช ทองประกอบen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:45:49Z
dc.date.available2015-06-24T06:45:49Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43921
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractปัจจุบันการเข้าถึงสารสนเทศเป็นที่นิยมอย่างมากไม่เว้นแม้แต่กลุ่มผู้พิการทางสายตา อย่างไรก็ตาม ด้วยข้อจำกัดและความบกพร่องทางสายตาส่งผลให้เกิดปัญหาการเข้าถึงสารสนเทศบางประเภทที่ไม่ได้ออกแบบมาเพื่อรองรับการเข้าใช้งานเว็บของผู้พิการทางสายตา โปรแกรมอ่านหน้าจอถูกพัฒนาขึ้นสำหรับอ่านออกเสียงข้อมูลภายในหน้าเว็บต่างๆ เพื่อช่วยผู้พิการทางสายตาให้สามารถเข้าถึงข้อมูลและข่าวสารต่างๆ ได้ โดยเว็บไซต์ที่โปรแกรมอ่านหน้าจอสามารถทำการอ่านเนื้อหาข้อมูลได้สมบูรณ์นั้น จำเป็นที่จะต้องถูกพัฒนาขึ้นตามแนวทางการพัฒนาเว็บที่เรียกว่า WCAG 2.0 งานวิจัยนี้ได้พัฒนาเครื่องมือเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพความสามารถการเข้าถึงข้อมูลบนเว็บสำหรับผู้พิการทางสายตา แนวทางวิธีการคือสนับสนุนการจัดการเนื้อหาภายในเว็บที่มีอยู่ในปัจจุบันให้ได้ตามมาตรฐานการเป็นเว็บที่ทุกคนเข้าถึงได้ ผลลัพธ์การพัฒนาเว็บไซต์ตามแนวทางที่นำเสนอจะได้หน้าเว็บที่สามารถรองรับการใช้งานขั้นต่ำของผู้พิการทางสายตา ซึ่งจัดอยู่ในเกณฑ์ความสำเร็จระดับ A ตามมาตรฐาน WCAG 2.0en_US
dc.description.abstractalternativeNowadays, information accessibility is extremely popular even among the visually impaired. However, visual limitations and impairments have caused trouble accessing certain information that is not designed for the visually impaired. The Screen Reader is developed for reading the web content in order to enable web accessibility for the visually impaired. The Screen Reader can completely read the contents from only those websites developed by following the web accessibility guidelines so called WCAG 2.0. This research has developed a tool for increasing the efficiency of data accessibility on web for visually impaired. The approach is to support the current website content management so that it would satisfy the web accessibility standard. The websites resulting from the presented development approach would satisfy the minimum requirements of web accessibility for visually impaired, or achieve the success criteria level A, referring to WCAG 2.0 standard.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1374-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectคนตาบอด
dc.subjectการเรียนรู้ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์
dc.subjectซอฟต์แวร์ -- การพัฒนา
dc.subjectBlind
dc.subjectComputer software -- Development
dc.titleการเพิ่มประสิทธิภาพความสามารถการเข้าถึงข้อมูลบนเว็บสำหรับผู้พิการทางสายตาen_US
dc.title.alternativeINCREASING EFFICIENCY OF DATA ACCESIBILITY ON WEB FOR VISUALLY IMPAIREDen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorYachai.L@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.1374-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5570985521.pdf2.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.