Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43974
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชัชวาล ใจซื่อกุล | en_US |
dc.contributor.advisor | อัจฉรา จันทร์ฉาย | en_US |
dc.contributor.author | กัญญาดา วิริยะไพบูลย์ | en_US |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | en_US |
dc.date.accessioned | 2015-06-24T06:46:01Z | |
dc.date.available | 2015-06-24T06:46:01Z | |
dc.date.issued | 2556 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43974 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคาดหวังของผู้ใช้บริการคลินิกเสริมความงามต่อแอปพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟนเพื่อใช้ในการออกแบบระบบต้นแบบนวัตกรรมระบบประเมินปัญหาผิวหน้าและการให้คำปรึกษาเบื้องต้นบนสมาร์ทโฟนเพื่อเสริมสร้างความผูกพันของลูกค้า โดยใช้แบบสอบถามต่อกลุ่มตัวอย่างคือผู้ใช้บริการคลินิกเสริมความงามทั่วไปจำนวน 400 ราย ในห้างสรรพสินค้าเขตพระรามเก้า เพื่อจำแนกบุคลิกลักษณะของลูกค้าคลินิกเสริมความงามและยืนยันความคาดหวังจาก 8 ประเด็นของลูกค้าคลินิกเสริมความงามต่อแอปพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟน ข้อมูลได้ถูกวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรม SPSS และนำไปใช้ในการออกแบบระบบต้นแบบการประเมินปัญหาผิวหน้าและการให้คำปรึกษาเบื้องต้นบนสมาร์ทโฟนและสามารถนำระบบต้นแบบน้ีไปพัฒนาเป็นต้นแบบสำหรับคลินิกเสริมความงาม ผลการศึกษาพบว่าผู้ใช้บริการคลินิกเสริมความงามทั่วไปมีความคาดหวังต่อแอปพลิเคชั่น (1) รูปแบบไอคอนมีลักษณะที่สอดคล้อง เหมาะสมต่อการใช้งาน มีความเสถียรต่อระบบและง่ายต่อการเข้าสู่ระบบ (2) ฟังก์ชั่นการใช้งานต่างๆ มีความชัดเจนและเข้าใจง่าย (3) มีข้อมูลตอบกลับมาจากคลินิกอย่างรวดเร็วและตรงประเด็น (4) มีเมนูบริการต่างๆ ให้เลือก กลุ่มตัวอย่างมีความสนใจมากท่ีจะใช้แอปพลิเคชั่นนี้จำนวนมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 62 รองลงมาคือกลุ่มตัวอย่างที่ไม่แน่ใจที่จะใช้แอปพลิเคชั่นน้ี คิดเป็นร้อยละ 36 และกลุ่มตัวอย่างที่ไม่สนใจที่จะใช้แอปพลิเคชั่นมีน้อยมากซึ่งคิดเป็นร้อยละ 2 เท่านั้น ผลสรุปการยอมรับเทคโนโลยี (TAM) ต่อระบบต้นแบบโดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากกลุ่มโฟกัสจำนวน 10 คน พบว่ามีการยอมรับแอปพลิเคชั่น 9 คน และอีก 1 คนยังไม่แน่ใจ แอปพลิเคชั่นนี้จะสามรถช่วยในการสร้างความผูกพันต่อลูกค้าคลินิกเสริมความงามได้ในอนาคต | en_US |
dc.description.abstractalternative | This research aimed to study the behavior and segmentation of beauty clinic customers, in order to enhance customer engagement through Innovative facial analysis and consultant system. Questionnaires were given to 400 customers and would be customers at department stores in Rama IX area to characterize beauty client profile and to validate 8 expectations of the mobile application. The data was analyzed using the SPSS and the information were collected to design the mock up of the facial analysis and consultant application that could be further developed to prototype application for each beauty clinic. The result found that most beauty clinic customers expects 4 basis features which are (1) Icon stability (2) Convenience functions (3) Photos upload speed (4) Menu. The majority of samples (62%) were interested in this application mock-up while 36% were unsure and 2% were not interested. The mock up was validated through Technology Acceptance Model (TAM) with a ten-member focus group of stakeholders. Nine stakeholders accpeted the mock up while one stakeholder was unsure. This application could help to engage customers for beauty clinics in the future. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1446 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | นวัตกรรมทางเทคโนโลยี | |
dc.subject | นวัตกรรมทางการแพทย์ | |
dc.subject | โปรแกรมประยุกต์ | |
dc.subject | Technological innovations | |
dc.subject | Medical innovations | |
dc.subject | Application software | |
dc.title | นวัตกรรมระบบประเมินปัญหาผิวหน้าและการให้คำปรึกษาเบื้องต้นบนสมาร์ทโฟนเพื่อเสริมสร้างความผูกพันของลูกค้า | en_US |
dc.title.alternative | INNOVATIVE FACIAL ANALYST AND CONSULTANT SYSTEM ON SMARTPHONE FOR CUSTOMER ENGAGEMENT | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | ธุรกิจเทคโนโลยีและการจัดการนวัตกรรม | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | plawan111@gmail.com | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2013.1446 | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5587208520.pdf | 3.2 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.