Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4408
Title: The performance evaluation and analysis of caching in data grid system
Other Titles: การวิเคราะห์และประเมินประสิทธิภาพของแคชชิ่งในระบบดาตากริด
Authors: Teerayut Hiruntaraporn
Advisors: Natawut Nupairoj
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Advisor's Email: natawut@cp.eng.chula.ac.th
Subjects: Computational grids (Computer systems)
Cache memory
Issue Date: 2005
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Data-intensive applications in the data grid environment usually transfer large amount of data, which can cause high network consumption and degrade the overall performance of the network. Caching is one of the techniques that can reduce network bandwidth usage by storing data likely to be used in the near future in its local storage. This technique is very successful, especially in the Internet. However, the conventional cache used in WWW can not be applied completely into the grid environment because of the differences between Web and Data Grid{7f2019}s behaviors, for example, data size, network consumption. This thesis proposes the block-based data caching model for data grid environment by dividing data file in many data blocks which can achieve better space utilization which leads to better overall performance. The experiment conduct by simulation using grid extended NS-2. The result indicates that data caching, especially block-based data caching, can provide benefits for the data grid environment which can be further developed into real implementation and can fine-tune for different environments.
Other Abstract: ระบบงานที่เน้นใช้ข้อมูลภายในระบบดาตากริดนั้นมักจะต้องทำการโอนย้ายข้อมูลปริมาณมาก ซึ่งเป็นกระบวนการที่ใช้แบนด์วิทย์สูงและทำให้ประสิทธิภาพของระบบเครือข่ายลดลง แคชชิ่งเป็นเทคนิคอย่างหนึ่งที่ใช้ในการลดปริมาณการใช้งานแบนด์วิทย์ โดยการจัดเก็บข้อมูลที่มีแนวโน้มในการใช้งานต่อในอนาคตมาเก็บในพื้นที่ของตัวเอง ซึ่งวิธีนี้สามารถใช้งานได้เป็นอย่างดีโดยเฉพาะอย่างยิ่งในระบบอินเตอร์เน็ต อย่างไรก็ตามการที่จะนำเอาวิธีเดียวกันนี้มาใช้ในระบบกริดเลยนั้น ไม่สามารถทำได้ในทุกแง่มุม เนื่องจากความแตกต่างในสภาวะระหว่างระบบกริดและอินเตอร์เน็ต ตัวอย่างเช่นขนาดของข้อมูลและการใช้งานเครือข่าย วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ นำเสนอวิธีการแคชแบบบล็อคซึ่งสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับระบบดาตากริดได้โดยการนำเอาข้อมูลที่มีขนาดใหญ่มาแบ่งเป็นบล็อคของข้อมูลที่มีขนาดเล็ก ซึ่งวิธีการนี้จะทำให้มีการใช้พื้นที่ของแคชที่ดีขึ้นซึ่งส่งผลให้ประสิทธิภาพการทำงานโดยรวมดีขึ้น ในการทดสอบจะทำการทดสอบโดยการจำลองสถานการณ์โดยใช้โปรแกรมเอ็นเอส2 ซึ่งมีการเพิ่มเติมส่วนในการจำลองระบบกริดเข้าไป จากผลการทดสอบสามารถสรุปได้ว่าการใช้แคชในระบบดาตากริดโดยเฉพาะการแคชแบบบล็อคนั้น มีประโยชน์ในด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของระบบ โดยสามารถนำไปพัฒนาต่อเพื่อการทำไปใช้งานจริง และสามารถทำการปรับปรุงค่าต่างๆเพื่อให้สามารถใช้งานได้ดีตามสภาพแวดล้อมได้
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2005
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Computer Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4408
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1571
ISBN: 9745325198
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2005.1571
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
teerayut.pdf835.87 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.