Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4415
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิม ชัยวัชราภรณ์-
dc.contributor.authorปนัดดา ฉิมตระกูล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-10-17T08:12:17Z-
dc.date.available2007-10-17T08:12:17Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743348344-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4415-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสมรรถภาพการจับออกซิเจนสูงสุดระหว่างการใช้พลาสเตอร์ช่วยหายใจและไม่ใช้พลาสเตอร์ช่วยหายใจ และเพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของอัตราการเต้นของหัวใจในขณะฟื้นตัว ระหว่างการใช้พลาสเตอร์ช่วยหายใจและไม่ใช้พลาสเตอร์ช่วยหายใจและไม่ใช้พลาสเตอร์ช่วยหายใจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นนิสิตชั้นปีที่ 3 และชั้นปีที่ 4 ภาควิชาพลศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 30 คน โดยแบ่งผู้รับการทดสอบออกเป็น 2 กลุ่มๆ ละ 15 คน ผู้วิจัยจัดการทดลองเป็น 2 สภาวะ คือ สภาวะที่ 1 ใช้พลาสเตอร์ช่วยหายใจ สภาวะที่ 2 ไม่ใช้พลาสเตอร์ช่วยหายใจ โดยให้กลุ่มตัวอย่างชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และวัดอัตราการเต้นของหัวใจขณะพัก วัดสมรรถภาพการจัดออกซิเจนสูงสุดด้วยวิธี ออสตรานด์ แล้วให้นั่งพักเพื่อหาอัตราการเต้นของหัวใจขณะฟื้นตัว แต่ละสภาวะเว้นห่างกัน 1 สัปดาห์ แล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์โดยหาค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1. ค่าสมรรถภาพการจับออกซิเจนสูงสุด ระหว่างสภาวะที่ใช้พลาสเตอร์ช่วยหายใจ (X = 51.47 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมต่อนาที) มากกว่าสภาวะที่ไม่ใช้พลาสเตอร์ช่วยหายใจ (X = 46.80 มิลลิลิตรต่อกิโลกรัมต่อนาที) อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 2. อัตราการเต้นของหัวใจขณะฟื้นตัวระหว่างสภาวะที่ใช้พลาสเตอร์ช่วยหายใจ (X = 4.73 นาที) ใช้เวลาน้อยกว่าสภาวะที่ไม่ใช้พลาสเตอร์ช่วยหายใจ (X = 6.90 นาที) อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study effect of using nasal stinp on the maximal oxygen uptake and the recovey heart rate. The subject were thirty students in the third and fourth year of the department Physical Education, Faculty of Education, Chulalongkorn University. They were divided into two groups of 15 persons each. At the first condition used nasal strips and the second condition did without nasal strips. The weight, height and heart rates were measured. The subjects were measured the maximal oxygen uptake by using Per Olof Austrand Method and the recovery heart rate. Each condition was tested twice with a interval duration of one week. The obtained data were analized in terms of means and standard deviation. A t-test was used to determine the significant difference between means. The results were as follows: 1. The maximal oxygen uptake when using nasal strips was significantly higher than without using nasal strips at the .01 level. 2. The recovery heart rate after the test between using nasalstrips was significantly better than without using nasal strips at the .01 level.en
dc.format.extent4391818 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1999.469-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการออกกำลังกายen
dc.subjectออกซิเจนen
dc.subjectสมรรถภาพทางกายen
dc.subjectพลาสเตอร์ช่วยหายใจen
dc.titleผลของการใช้พลาสเตอร์ช่วยหายใจที่มีต่อสมรรถภาพการจับออกซิเจนสูงสุดและอัตราการเต้นของหัวใจขณะฟื้นตัวen
dc.title.alternativeEffects of using nasal strips on the maximal oxygen uptake and the recovery heart rateen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineพลศึกษาen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorcchalerma@loxinfo.co.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1999.469-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
panudda.pdf4.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.