Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4417
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพร้อมพรรณ อุดมสิน-
dc.contributor.authorจรุง ขำพงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-10-17T08:24:06Z-
dc.date.available2007-10-17T08:24:06Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743345167-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4417-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractศึกษา 1. ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หลังการเรียนการสอนการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยใช้กลวิธีเมตาคอคนิชัน 2. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างก่อนการเรียนการสอน และหลังการเรียนการสอนการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยใช้กลวิธีเมตาคอคนิชัน ตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านไร่พิทยาคม จังหวัดสุโขทัยจำนวน 65 คน ในปีการศึกษา 2542 ผู้วิจัยดำเนินการสอนการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยใช้กลวิธีเมตาคอคนิชัน กับตัวอย่างประชากร แล้วทดสอบด้วยแบบสอบวัดความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์จากการเรียนการสอนการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์โดยใช้กลวิธีเมตาคอคนิชัน สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 ที่กำหนดไว้ 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์หลังการเรียนการสอนการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยใช้กลวิธีเมตาคอคนิชันสูงกว่าก่อนการเรียนการสอน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05en
dc.description.abstractalternativeStudies 1. the mathematics problem solving ability of mathayom suksa two students after learning mathematics problem solving by using metacognitive strategies. 2. to compare the mathematics problem solving ability of mathayom suksa two students before and after learning mathematics problem solving by using metacognitive strategies. The samples were sixty-five mathayom suksa two students in 1999 academic year of Banraipithayakom School, Sukhothai province. The researcher taught problem solving in mathematics by using metacognitive strategies to the samples for three weeks, and then administered the mathematics problem solving test to them. The data were analyzed by means of arithmetic mean, standard deviation and t-test. The research results were revealed that: 1. the mathayom suksa two students who learned mathematics problem solving by using metacognitive strategies had mathematics problem solving ability higher than the criteria of 60 percent. 2. the mathayom suksa two students had higher mathematics problem solving ability after learning mathematics problem solving by using metacognitive strategies than that before learning mathematics problem solving by using metacognitive strategies at the 0.05 level of significance.en
dc.format.extent7740803 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1999.473-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en
dc.subjectความสามารถทางคณิตศาสตร์en
dc.subjectการแก้โจทย์สมการen
dc.subjectเมตาคอคนิชันen
dc.subjectความคิดและการคิดen
dc.titleผลของการใช้กลวิธีเมตาคอคนิชัน ที่มีต่อความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2en
dc.title.alternativeEffects of using metacognitive strategies on mathematics problem solving ability of mathayom suksa two studentsen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineการศึกษาคณิตศาสตร์en
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPrompan.U@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1999.473-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
jarung.pdf7.56 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.