Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44205
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Pavika Sriratanaban | - |
dc.contributor.author | Ummul Hasanah | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Graduate School | - |
dc.date.accessioned | 2015-07-29T07:53:31Z | - |
dc.date.available | 2015-07-29T07:53:31Z | - |
dc.date.issued | 2012 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44205 | - |
dc.description | Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2012 | en_US |
dc.description.abstract | The objective of this research is to examine the values of surname in Korean and Javanese societies by looking at the impact of colonization in both societies resulted to the social structures that assumingly shaped the pattern of surname usage in Korean and Javanese societies. Giving the background that the surname usage pattern in Korean is exceptional where only limited lines of surname used by most Koreans, they are Kim, Lee, and Park. Meanwhile in Javanese society, most Javanese do not have surname which is also unique compared to other societies. The research was conducted by doing documentary analysis to find the answers why such things happened. The result showed that, colonization is not the main factor that affected the use of surname in Korean and Javanese society. Koreans have been using Korean surname in the same pattern since centuries ago until today although during Japanese colonization Koreans were forced to use Japanese name. As for Javanese society, Javanese do not recognize the use of surname even before colonizer came to Java. Javanese people do not see any significance of using or not using surname in their life although for some nobility, surname was used to show that they are higher in status than the commoner Javanese. Seen from its use of surname, Korean society is still strongly adapting patriarchal society in social structure and Javanese people are having more egalitarian social structure. Limited lines of name in Korean society means that among millions of Koreans, only around 300 surnames are widely used. It is because after the collapsed of Choson Dynasty, many Koreans tried to upgrade their social status by buying high social status surname like Kim and Lee. In the past, surname was closely related to social status, but not anymore today in Korea. The decision to keep using Korean surname even after Japanese “assimilation policy” showed Koreans’ national pride; everything might be taken from Korea, but not their identity as Korean. There are many choices for naming in Javanese because there is no agreed pattern in giving name to Javanese babies. With the absence of family surname, Javanese still understand that man is the leader in the family. Many Javanese nowadays do not want to use surname, even if they come from famous family because they do not want to create a gap in society. They want to be seen as who they really are, not from their family surname or family reputation. However, some Javanese consider giving surname to their offspring to make the children easier in tracking the family lineage or to make them easily filling in the legal international documents. | en_US |
dc.description.abstractalternative | งานวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสำคัญของการใช้นามสกุลในสังคมเกาหลีและสังคมชวา โดยเน้นศึกษาผลกระทบจากการเป็นอาณานิคมซึ่งส่งผลต่อโครงสร้างทางสังคมของเกาหลีและชวาในการกำหนดรูปแบบการใช้นามสกุล ความเป็นมาของรูปแบบการใช้นามสกุลในสังคมเกาหลีมีความโดดเด่น เนื่องจากความมีจำกัดของการใช้ชื่อ-สกุล นามสกุลที่ใช้มากที่สุด เช่น เชื้อสายคิม เชื้อสายลี และเชื้อสายปาร์ค ในขณะที่สังคมชวา ชาวอินโดนีเซียส่วนใหญ่ไม่มีการใช้นามสกุลหากเปรียบเทียบกับสังคมอื่นๆ ในโลก งานวิจัยชิ้นนี้ใช้วิธีการศึกษาโดยการวิเคราะห์จากเอกสารเพื่อที่จะหาคำตอบจากปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจากความแตกต่างของสองสังคมในเรื่องการใช้นามสกุล ผลจากการศึกษาพบว่า ปัจจัยเรื่อง การเป็นอาณานิคม ไม่ได้เป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการใช้นามสกุลทั้งในสังคมเกาหลีและสังคมญี่ปุ่น ถึงแม้ว่าชาวเกาหลีเคยตกเป็นอาณานิคมของญี่ปุ่นและถูกบังคับให้ใช้ชื่อเป็นภาษาญี่ปุ่นก็ตาม แต่ชาวเกาหลีก็ยังใช้นามสกุลเกาหลีในรูปแบบเดิมมาตั้งแต่ศตวรรษที่แล้วจนกระทั่งถึงปัจจุบันนี้ ในขณะที่สังคมชวากลับไม่เคยมีการรับรู้ถึงเรื่องการใช้นามสกุลเลย แม้แต่ก่อนการเป็นอาณานิคมของประเทศที่เข้ามาปกครองในชวาก็ตาม ชาวอินโดนิเซียไม่เห็นถึงความสำคัญใดๆในการใช้หรือไม่ใช้นามสกุลต่อชีวิตประจำวัน แต่สำหรับชาวอินโดนิเซียชนชั้นสูงบางกลุ่มเลือกที่จะมีนามสกุลเพื่อที่จะแสดงออกถึงฐานะที่มีศักดิ์สูงส่งกว่าชนชั้นธรรมดา หากพิจารณาจากการใช้นามสกุล สังคมเกาหลียังคงนำระบบที่ยึดหัวหน้าครอบครัวเป็นหลักมาใช้ ส่วนสังคมอินโดนิเซียกลับมีความเท่าเทียมภายในสังคมมากกว่า คำว่า “ความมีจำกัดของการใช้ชื่อ-สกุล” ในสังคมเกาหลีนั้นหมายถึง มีการใช้นามสกุลประมาณ 300 นามสกุลเท่านั้น สาเหตุเนื่องมาจากหลังจากการล่มสลายของราชวงศ์โชซอน ชาวเกาหลีในยุคนั้นพยายามที่จะสร้างสถานะฐานะทางสังคมของตนเองให้ดีขึ้นโดยการซื้อนามสกุลของตระกูลที่อยู่ในชนชั้นสูง เช่น ตระกูลคิม ตระกูลลี เป็นต้น ดังนั้น ชาวเกาหลีส่วนใหญ่จึงใช้นามสกุลที่กล่าวมาเป็นจำนวนมาก นามสกุลมีความสัมพันธ์แนบแน่นกับการแสดงออกถึงสถานะทางสังคมเกาหลีในอดีต แต่ไม่ใช่ในสังคมเกาหลีปัจจุบัน การตัดสินใจเลือกใช้นามสกุลเกาหลีต่อไปหลังจากญี่ปุ่นออกนโยบาย “ผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรม” แสดงให้เห็นถึง ความจงรักภักดีต่อชนชาติตนเอง อัตลักษณ์ความเป็นเกาหลีเป็นสิ่งที่ญี่ปุ่นไม่สามารถยึดครองได้ ในขณะที่สังคมชวา ไม่มีรูปแบบการตั้งชื่อ-นามสกุลอย่างตายตัว แม้ว่าจะไม่มีการใช้นามสกุลภายในสังคมชวาก็ตาม แต่พวกเขาสามารถเข้าใจได้ว่าผู้ชายเป็นหัวหน้าครอบครัว และผู้หญิงสามารถมีอิสระในการแสดงออกในด้านต่างๆ ภายในสังคม ชาวชวาในปัจจุบันไม่ต้องการใช้นามสกุล แม้แต่กลุ่มที่มาจากชนชั้นสูงก็ไม่ต้องการที่จะสร้างความแตกต่างระหว่างชนชั้นอีกต่อไป พวกเขาต้องการแสดงให้เห็นถึงตัวตนที่แท้จริงที่ไม่ได้มาจากตระกูลหรือครอบครัวที่มีชื่อเสียง อย่างไรก็ตาม ชาวชวาเริ่มหันมาสนใจกับการใช้นามสกุลเพื่อให้การลำดับญาติหรือการกรอกข้อมูลสำคัญเป็นเรื่องที่สะดวกมากยิ่งขึ้น | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.146 | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | en_US |
dc.subject | Names, Personal -- Korea | en_US |
dc.subject | Names, Personal -- Indonesia | en_US |
dc.subject | นามสกุล -- เกาหลี | en_US |
dc.subject | นามสกุล -- อินโดนีเซีย | en_US |
dc.title | The values of surname in Korean and Javanese societies | en_US |
dc.title.alternative | ความสำคัญของนามสกุลในสังคมเกาหลีและสังคมชวา | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | Master of Arts | en_US |
dc.degree.level | Master's Degree | en_US |
dc.degree.discipline | Korean Studies (Inter-Disciplinary) | en_US |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en_US |
dc.email.advisor | Pavika.S@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2012.146 | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Ummul_ha.pdf | 657.15 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.