Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44213
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอเนกพล เกื้อมา-
dc.contributor.authorกฤษ บางศรี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2015-07-29T09:55:10Z-
dc.date.available2015-07-29T09:55:10Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44213-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษารูปแบบการจัดกิจกรรมศิลปะบำบัด เพื่อเสริมสร้าง จินตนาการของบุคคลออทิสติก 2) ศึกษาปัญหา อุปสรรค การจัดกิจกรรมศิลปะบำบัดเพื่อเสริมสร้างจินตนาการของบุคคลออทิสติกในแต่ละรูปแบบ 3)เสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหา อุปสรรค การจัดกิจกรรมศิลปะบำบัดเพื่อเสริมสร้างจินตนาการสำหรับบุคคลออทิสติกการศึกษาวิจัย ประชากรเป้าหมาย ได้แก่ ผู้จัดกิจกรรมศิลปะบำบัดสำหรับบุคคลออทิสติกในสถาบัน ราชานุกูล โรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมภ์ และบ้านอาจารย์จุมพล ชินะประพัฒน์ โดยใช้เก็บรวบรวมข้อมูลโดยทบทวนเอกสาร การสัมภาษณ์ การสังเกต แบ่งการศึกษาออกเป็น 4 ระยะ คือ 1) ศึกษาข้อมูล 2) เตรียมการศึกษาในภาคสนาม 3) เก็บรวบรวมข้อมูล 4) วิเคราะห์ และสรุปผลการศึกษา ผลการศึกษาของกรณีศึกษาทั้งสามพบว่า 1)รูปแบบการจัดกิจกรรมทางศิลปะบำบัดเพื่อเสริมสร้างจินตนาการสำหรับบุคคลออทิสติกใช้เนื้อหาที่ในการจัดกิจกรรมคือการสร้างเส้น รูปร่างรูปทรงและสี โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ การใช้คำถาม สถานการณ์จำลองและบทบาทสมมติ 2)ปัญหาและอุปสรรคเกิดจากการขาดความรู้ ความชำนาญตลอดจนทักษะการจัดกิจกรรมศิลปะบำบัดของผู้จัดกิจกรรม 3)แนวทางแก้ไข ผู้จัดกิจกรรมควรประยุกต์ความรู้ความเข้าใจในบุคคลออทิสติก และควรให้มีการกำหนดตำแหน่งนักศิลปะบำบัดในสถานบำบัดที่เกี่ยวข้องen_US
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study were 1) to study patterns of art therapy activities to reinforce imagination for people with autism 2) to study the barriers of art therapy activities to reinforce imagination for people with autism each form 3) to propose solutions of art therapy activities to reinforce imagination for people with autism. Case study are 1) Therapist in Rajanukul institute, Yuwaprasart Waithayopathum Hospital and home of Jumpol Chinaprapat. 2) Associated person with people with autism, including doctors, nurses and Moderators. Using Qualitative data collection methods, including review literature interviews and observations. The research is divided into four step.1) Study of charge information.2) Study in the field.3) Study and data collection. 4) Analysis and conclusions. The results of the three case studies found that 1) Patterns of art therapy activities to reinforce imagination for people with autism use content of create a line, shape and color. The learning activities use the stimulation and role-plays. 2) Problems and obstacles due to lack of knowledge, expertise, and skills of art therapist 3) Solutions is art therapist should apply their knowledge and understanding in people with autism. And should provide the placement of art therapist.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.79-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectศิลปกรรมบำบัดen_US
dc.subjectArt therapyen_US
dc.subjectAutistic childrenen_US
dc.titleรูปแบบการจัดกิจกรรมศิลปะบำบัดเพื่อเสริมสร้างจินตนาการสำหรับบุคคลออทิสติก : กรณีศึกษาในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลen_US
dc.title.alternativePatterns of art therapy activities to reinforce imagination for people with autism : a case study in Bangkok and its vicinityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineพัฒนามนุษย์และสังคมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.79-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Krit_ba.pdf6.67 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.