Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4421
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวไลรัตน์ บุญสวัสดิ์-
dc.contributor.authorพรวรัตม์ ชิดสิน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-10-17T08:40:53Z-
dc.date.available2007-10-17T08:40:53Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743340939-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4421-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทักษะการนิเทศของผู้นิเทศในโรงเรียนประถมศึกษาที่ได้รับรางวัลพระราชทาน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือ ผู้บริหารโรงเรียน ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียนฝ่ายวิชาการ ครูวิชาการโรงเรียน และครูหัวหน้ากลุ่มประสบการณ์ในโรงเรียนประถมศึกษาที่ได้รับรางวัลพระราชทานในปีการศึกษา 2541 โดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับทักษะการนิเทศของผู้นิเทศในโรงเรียน จำนวน 5 ทักษะ จำนวน 64 ข้อ ส่งไปจำนวน 216 ฉบับ ได้รับคืน 201 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 93.05 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการคำนวณหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS/PC+ ผลการวิจัยพบว่า ผู้นิเทศมีทักษะการนิเทศตามการรับรู้ของตนเองอยู่ในระดับมากทั้ง 5 ทักษะ โดยเรียงตามลำดับค่าเฉลี่ยดังนี้ 1. ทักษะในด้านมนุษย์สัมพันธ์ 4.20 2. ทักษะในด้านกระบวนการกลุ่ม 4.11 3. ทักษะในด้านการเป็นผู้นำ 4.00 4. ทักษะในด้านการบริหารงานบุคคล 4.00 5. ทักษะในด้านการประเมินผล 3.86en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the educational supervisory skills of supervisors in the royal awarded primary schools under the jurisdiction of the Office of the National Primary Education Commission. The questionnaires including 5 topics and 64 items constructed by the researcher were used for the school administrators, academic deputy administrators, academic teachers and head-experiences area. The 216 questionnaires were sent to the samples but 201 questionnaires (93.05%) returned. The obtained questionnaires were analyzed by the SPSS/PC+ computer to find the arithmetic mean and standard deviation of variation for each item. Research findings were as follows: It was found that the educational supervisory skills of supervisors as perceived by themselves in five topics were at high level in every skills. They were 1.) human relations skills 4.20, 2.) group process skills 4.11, 3.)leadership skills 4.00, 4.) personnel administration skills 4.00, and 4.) evaluation skills 3.86.en
dc.format.extent11204813 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1999.471-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการนิเทศการศึกษา -- ไทยen
dc.subjectศึกษานิเทศก์ -- ไทยen
dc.titleการศึกษาทักษะการนิเทศของผู้นิเทศในโรงเรียนประถมศึกษาที่ได้รับรางวัลพระราชทาน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติen
dc.title.alternativeA study of educational supervisory skills of supervisors in the royal awarded primary schools under the jurisdiction of the Office of the National Primary Education Commissionen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineนิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสูตรen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorValairat.b@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1999.471-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
pornwarat.pdf10.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.