Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4425
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวัฒนา อุทัยรัตน์-
dc.contributor.authorทิพย์รัตน์ นพฤทธิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-10-17T08:56:14Z-
dc.date.available2007-10-17T08:56:14Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743347054-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4425-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างกลุ่มที่เขียนบันทึกการเรียนรู้และกลุ่มที่เรียนแบบปกติ 2. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างกลุ่มที่เขียนบันทึกการเรียนรู้และกลุ่มที่เรียนแบบปกติ ที่มีระดับผลการเรียนทางคณิตศาสตร์ สูง ปานกลาง และต่ำ 3. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มที่เขียนบันทึกการเรียนรู้ที่มีระดับผลการเรียนทางคณิตศาสตร์สูง ปานกลาง และต่ำ ก่อนการเขียนบันทึกการเรียนรู้และหลังการเขียนบันทึกการเรียนรู้ 4. เพื่อเปรียบเทียบความวิตกกังวลในวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างกลุ่มที่เขียนบันทึกการเรียนรู้และกลุ่มที่เรียนแบบปกติ 5. เพื่อศึกษาความวิตกกังวลในวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างกลุ่มที่เขียนบันทึกการเรียนรู้และกลุ่มที่เรียนแบบปกติ ที่มีระดับผลการเรียนทางคณิตศาสตร์สูง ปานกลาง และต่ำ 6. เพื่อศึกษาความวิตกกังวลในวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มที่เขียนบันทึกการเรียนรู้ที่มีระดับผลการเรียนทางคณิตศาสตร์สูง ปานกลาง และต่ำ ก่อนการเขียนบันทึกการเรียนรู้และหลังการเขียนบันทึกการเรียนรู้ ตัวอย่างประชากร เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2542 จำนวน 79 คน โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มหนึ่งเป็นกลุ่มทดลองซึ่งมีการเขียนบันทึกการเรียนรู้หลังการเรียน และอีกกลุ่มหนึ่งเป็นกลุ่มควบคุมซึ่งเรียนแบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 2 ชุด คือ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ และแบบวัดความวิตกกังวลในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างด้วยค่าที (t-test) และวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANCOVA) ผลการวิจัย พบว่า 1. นักเรียนกลุ่มที่เขียนบันทึกการเรียนรู้ มีผลสัมฤทธิ์การเรียนคณิตศาสตร์ไม่แตกต่างกับกลุ่มที่เรียนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 2. นักเรียนที่มีระดับผลการเรียนทางคณิตศาสตร์สูง ปานกลาง และต่ำ ของกลุ่มที่เขียนบันทึกที่เขียนบันทึกการเรียนรู้ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ สูงกว่า นักเรียนที่มีระดับผลการเรียนทางคณิตศาสตร์สูง ปานกลาง และต่ำของกลุ่มที่เรียนแบบปกติ คิดเป็นร้อยละที่เพิ่มขึ้น คือ 5.83, 12.17 และ 15.50 ตามลำดับ 3. นักเรียนกลุ่มที่เขียนบันทึกการเรียนรู้ ที่มีระดับผลการเรียนทางคณิตศาสตร์สูง ปานกลาง และต่ำ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเขียนบันทึกการเรียนรู้ สูงกว่าก่อนการเขียนบันทึกการเรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ 24.78, 10.43 และ 10.00 ตามลำดับ 4. นักเรียนกลุ่มที่เขียนบันทึกการเรียนรู้ มีความวิตกกังวลในวิชาคณิตศาสตร์ ไม่แตกต่างกับกลุ่มที่เรียนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 5. นักเรียนที่มีระดับผลการเรียนทางคณิตศาสตร์สูง ปานกลาง และต่ำของกลุ่มที่เขียนบันทึกการเรียนรู้ มีความวิตกกังวลในวิชาคณิตศาสตร์ ต่ำกว่า นักเรียนที่มีระดับผลการเรียนทางคณิตศาสตร์สูง ปานกลาง และต่ำ ของกลุ่มที่เรียนแบบปกติ คิดเป็นร้อยละทที่ลดลง คือ 0.22, 4.88 และ 15.51 ตามลำดับ 6. นักเรียนกลุ่มที่เขียนบันทึกการเรียนรู้ ที่มีระดับผลการเรียนทางคณิตศาสตร์สูง ปานกลาง และต่ำ มีความวิตกกังวลในวิชาคณิตศาสตร์หลังการเขียนบันทึกการเรียนรู้ ต่ำกว่า ก่อนการเขียนบันทึกการเรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ 1.62, 0.35 และ 13.57 ตามลำดับen
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were 1. to compare mathematics learning achievement of mathayom suksa two students between groups used journal writing and learned through conventional method. 2. to study mathematics learning achievement of mathayom suksa two students with high, medium and low mathematics learning level between groups used journal writing and learned through conventional method. 3. to study mathematics learning achievement of mathayom suksa two students with high, medium and low mathematics learning level before and after using journal writing. 4. to compare anxiety towards mathematics of mathayom suksa two students between groups used journal writing and learned through conventional method. 5. to study anxiety towards mathematics of mathayom suksa two students with high, medium and low mathematics learning level between groups used journal writing and learned through conventional method. 6. to study anxiety towards mathematics of mathayom suksa two students with high, medium and low mathematics learning level before and after using journal writing. The samples were 79 mathayom suksa two students in the demonstration school of Chiangmai University inthe academic year 1999. They were divided into two group: one group was the experimental group used journal writing and the other group was controlled group learned through conventional method. The research instruments were mathematics achievement test and mathematics anxiety test. The data were analyzed by means of arithmetic mean, standard deviation, t-test and ANCOVA. The results of the study revealed that: 1. The students used journal writing showed no difference in mathematics learning achievement from the students learned through conventional method at 0.05 level of significance. 2. The mathematics learning achievement of students with high, medium and low mathematics learning level between groups used journal writing and learned through conventional method increased 5.83, 12.17 and 15.50 percent, respectively. 3. The mathematics learning achievement of students with high, medium and low mathematics learning level before and after using journal writing increased 24.78, 10.43 and 10.00 percent, respectively. 4. The students used journal writing showed no difference in anxiety towards mathematics from the students learned through conventional method at 0.05 level of significance. 5. The anxiety towards mathematics of students with high, medium and low mathematics learning level between groups used journal writing and learned through conventional method decreased 0.22, 4.88 and 15.51 percent, respectively. 6. The anxiety towards mathematics of students with high, medium and low mathematics learning level before and after using journal writing decreased 1.62, 0.35 and 13.57 percent, respectively.en
dc.format.extent6895549 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1999.476-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectบันทึกประจำวันen
dc.subjectความวิตกกังวลen
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนen
dc.subjectมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. โรงเรียนสาธิตen
dc.titleผลของการเขียนบันทึกการเรียนรู้ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความวิตกกังวลในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิต สังกัดทบวงมหาวิทยาลัยen
dc.title.alternativeEffects of journal writing on learning achievement and anxiety towards mathematics of mathayom suksa two students in the demonstration schools under the Ministry of University Affairsen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineการศึกษาคณิตศาสตร์en
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSuwattana.U@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1999.476-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
tipparat.pdf6.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.