Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44295
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSumalee Chinokul-
dc.contributor.authorPajaree Nipaspong-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Graduate School-
dc.date.accessioned2015-08-14T08:48:49Z-
dc.date.available2015-08-14T08:48:49Z-
dc.date.issued2007-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44295-
dc.descriptionThesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2007en_US
dc.description.abstractThis experimental study was designed to investigate the effects of two corrective feedback techniques—explicit feedback and prompts—on L2 pragmatic acquisition, focusing on the use of refusals. The research aims to study the effects of explicit feedback and prompts on learners’ 1) oral refusal production, 2) pragmatic awareness of the use of refusals, and 3) level of confidence in making appropriate refusals. The participants were 39 first year English-major undergraduates of Silpakorn University. The subjects were pre-tested and categorized as high- and low-proficiency learners before assignment to two experimental groups and one control group. Each experimental group received either explicit feedback (+ immediate time/ - self-directed repair) or prompts (+ immediate time/ + self-directed repair) as their treatment, while the control group received delayed explicit feedback (- immediate time/ - self-directed repair). After the 10-week instructional intervention, the subjects were post-tested on their pragmatic production, awareness and confidence. The delayed post-test was done 13 weeks later to investigate the retention of each corrective feedback technique. Results from the study revealed that the prompts group (PG) benefited the most, vastly improving their refusal production. The PG significantly outperformed the explicit feedback group (EG) and the control group (CG) on both immediate and delayed post-tests with the difference between groups becoming more robust over time. The PG also significantly improved their pragmatic awareness compared to the other two groups on the post-test. However, the CG was found to have the greatest improvement of their confidence level after the treatment. The findings were interpreted as indicating the beneficial role of immediate corrective feedback and the superiority of prompts over explicit feedback in promoting learners’ acquisition of L2 pragmatics.en_US
dc.description.abstractalternativeงานวิจัยเรื่องนี้ทำขึ้นเพื่อศึกษาผลของการใช้ข้อมูลป้อนกลับ 2 แบบ ได้แก่ ข้อมูลป้อนกลับแบบชัดเจน (explicit feedback) และข้อมูลป้อนกลับแบบโดยนัย (prompts) ต่อพัฒนาการทางวัจนปฏิบัติศาสตร์ด้านการตอบปฏิเสธของผู้เรียน วัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ การศึกษาผลของข้อมูลป้อนกลับทั้งสองแบบต่อ 1) ความสามารถในการปฏิเสธ 2) ความตระหนักเชิงวัจนปฏิบัติศาสตร์ด้านการปฏิเสธ และ 3) ความเชื่อมั่นในการใช้คำปฏิเสธอย่างเหมาะสมของผู้เรียน กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วยนักศึกษาวิชาเอกภาษาอังกฤษ ชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยศิลปากร จำนวน 39 คน ผู้เข้าร่วมการวิจัยได้ถูกแบ่งออกเป็นกลุ่มเก่ง และกลุ่มอ่อน โดยใช้ผลการทดสอบความสามารถด้านการตอบปฏิเสธก่อนเข้าร่วมการวิจัย (pre-test) โดยทั้งหมดได้ถูกจับคู่คะแนนเพื่อแบ่งเข้ากลุ่มวิจัย 3 กลุ่ม กลุ่มทดลองกลุ่มที่ 1 ได้รับข้อมูลป้อนกลับแบบชัดเจน กลุ่มทดลองกลุ่มที่ 2 ได้รับข้อมูลป้อนกลับโดยนัย ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับข้อมูลป้อนกลับหลังการสอน (delayed feedback) หลังเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนนาน 10 สัปดาห์ ผู้เข้าร่วมการวิจัยเข้าร่วมการทดสอบวัดผลหลังการเรียน (immediate post-test) อันประกอบด้วยข้อสอบพูดตอบปฏิเสธ, ข้อสอบวัดความตระหนักเชิงวัจนปฏิบัติศาสตร์ด้านการปฏิเสธ และแบบวัดระดับความเชื่อมั่น นอกจากนี้ผู้เข้าร่วมการวิจัยยังเข้าร่วมการทดสอบหลังการเรียนครั้งที่ 2 (delayed post-test) ในอีก 13 สัปดาห์ต่อมาเพื่อติดตามผลระยะยาวของการให้ข้อมูลป้อนกลับต่อความสามารถทางการปฏิเสธของผู้เรียน ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มที่ได้รับข้อมูลป้อนกลับโดยนัยมีพัฒนาการด้านการตอบปฏิเสธมากที่สุด โดยได้คะแนนจากข้อสอบพูดมากกว่ากลุ่มข้อมูลป้อนกลับแบบชัดเจนและกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งความแตกต่างระหว่างกลุ่มมีความชัดเจนมากขึ้นในการทดสอบครั้งสุดท้าย ผลการวิจัยยังรายงานว่า กลุ่มข้อมูลป้อนกลับโดยนัยพัฒนาระดับความตระหนักเชิงวัจนปฏิบัติศาสตร์มากกว่ากลุ่มอื่นๆอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในขณะที่กลุ่มควบคุมมีพัฒนาการทางความเชื่อมั่นสูงที่สุด การวิเคราะห์ผลจากงานวิจัยเรื่องนี้ชี้ประโยชน์ของการให้ข้อมูลป้อนกลับ โดยเฉพาะข้อมูลป้อนกลับโดยนัยในการเรียนการสอนวิชาวัจนปฏิบัติศาสตร์en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1825-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectPragmaticsen_US
dc.subjectDenial (Psychology)en_US
dc.subjectวัจนปฏิบัติศาสตร์en_US
dc.subjectการปฏิเสธ (จิตวิทยา)en_US
dc.subjectปริญญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.titleThe effects of types of corrective feedback on students’ oral pragmatic competence on the use of refusalsen_US
dc.title.alternativeผลของประเภทการให้ข้อมูลป้อนกลับเพื่อแก้ไขข้อผิดต่อความสามารถทางวัจนปฏิบัติศาสตร์ด้านการพูดปฏิเสธของผู้เรียนen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameDoctor of Philosophyen_US
dc.degree.levelDoctoral Degreeen_US
dc.degree.disciplineEnglish as an International Languageen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorSumalee.C@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.1825-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pajaree_Ni.pdf2.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.