Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44466
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมเกียรติ ตั้งจิตสิตเจริญen_US
dc.contributor.authorหนึ่งฤทัย ชวดเปียen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-08-21T09:29:04Z-
dc.date.available2015-08-21T09:29:04Z-
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44466-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractเพื่อทำการพัฒนาและปรับปรุงระบบการจัดการซ่อมบำรุงที่มีอยู่ในปัจจุบันของโรงงานกรณีศึกษา (SMT Process) ซึ่งมีปัญหาในเรื่องการเก็บรวบรวมข้อมูล และการทำงานที่ซ้ำซ้อน อันส่งผลให้เกิดความล้าช้า และการด้อยประสิทธิภาพในการซ่อมบำรุง โดยการนำระบบคอมพิวเตอร์ (Computer maintenance management system: CMMS) เข้ามาประยุกต์ใช้ ในการเก็บรวบรวมและจัดการข้อมูล รวมทั้งการประยุกต์ใช้คุณสมบัติออนไลน์ในการติดต่อสื่อสาร เมื่อมีความผิดปกติเกิดขึ้นกับเครื่องจักร ผู้ใช้จะทำการแจ้งเตือนเหตุการณ์ดังกล่าวผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ที่ประยุกต์ขึ้น และระบบจะทำการส่งข้อมูลการแจ้งเตือนผ่านทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) ไปยังผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อทำการแก้ไขปัญหาดังกล่าวอย่างทันท่วงที นอกจากนี้ระบบยังมีการจัดเก็บข้อมูลพนักงาน, เครื่องจักร, อะไหล่ รวมทั้งข้อมูลแผนการบำรุงรักษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบยังสามารถคำนวณจำนวนอะไหล่สูงสุด-ต่ำสุดโดยอัตโนมัติ พร้อมทั้งมีการแจ้งผ่านทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เมื่อจำนวนอะไหล่มีค่าเท่ากับค่าคงคลังต่ำสุด นอกจากนี้ระบบยังมีเมนูการรายงานผลหรือการสรุปข้อมูลออกมาในรูปแบบของการแท่ง โดยแสดงค่าระยะเวลาเฉลี่ยระหว่างความเสียหายของเครื่องจักร (Mean Time Between Failure) , ค่าเฉลี่ยของเวลาที่ใช้ในการซ่อมเครื่องจักรเมื่อเครื่องจักรเกิดความเสียหาย (Mean Time to Repair) และค่าอัตราความพร้อมการเดินเครื่อง (Availability Rate) เพื่อให้ผู้ใช้สามารถทำการวิเคราะห์ และปรับปรุงต่อไป ซึ่งจากการนำระบบดังกล่าวมาประยุกต์ใช้พบว่าค่า ระยะเวลาเฉลี่ยระหว่างความเสียหายของเครื่องจักรเพิ่มขึ้น 44.61% และค่าอัตราความพร้อมการเดินเครื่องมีค่าเพิ่มขึ้น 1.31% ในขณะที่ค่าค่าเฉลี่ยของเวลาที่ใช้ในการซ่อมเครื่องจักรเมื่อเครื่องจักรเกิดความเสียหายมีค่าลดลง 62.68% ซึ่งสามารถพิสูจน์ได้ว่าระบบจัดการซ่อมบำรุงด้วยคอมพิวเตอร์สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของงานบำรุงรักษาได้เป็นอย่างดีen_US
dc.description.abstractalternativeIn order to improve the maintenance system of the printed circuit board, the computerized maintenance management system (CMMS) has been developed to collect and manage the maintenance data by utilizing the newly proposed features via the online system. When a malfunction happens, the operator and the maintenance staff will be notified immediately by email to check and solve the problems. In addition, the developed CMMS has been designed with the database system which consists of the employee profile, the machinery, the spare part, and the preventive maintenance plan. A number of spare parts can be calculated automatically when it reaches the minimum stock. The developed system can generate the reports of the mean time between failures (MTBF), the mean time to repairs (MTTR) and the availability rate (A). It has been proved that the proposed and developed CMMS can increase the MTBF about 44.61% and the A about 1.31% while the MTTR can be decreased approximately 62.68%.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการพัฒนาระบบการจัดการซ่อมบำรุงรักษาสำหรับกระบวนการประกอบแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์en_US
dc.title.alternativeDEVELOPMENT OF MAINTENANCE MANAGEMENT SYSTEM FOR PRINTED CIRCUIT BOARD ASSEMBLY PROCESSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSomkiat.Ta@Chula.ac.th,Somkiat.t@eng.chula.ac.then_US
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5471026821.pdf7.67 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.