Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44542
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีระยุทธ ศรีธุระวานิชen_US
dc.contributor.authorศตวรรษ กระเดื่องเดชen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-08-21T09:29:45Z
dc.date.available2015-08-21T09:29:45Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44542
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractในช่วง 50 ปีที่ผ่านมาได้มีการพัฒนาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์โดยใช้ซิลิกอนเป็นวัสดุหลักในการสร้าง แต่ซิลิกอนนั้นมีราคาแพงขึ้นและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ยังก่อให้เกิดปัญหาขยะอิเล็กทรอนิกส์ตามมา ในช่วง 5 - 6 ปีที่ผ่านมาได้มีการนำกระดาษมาใช้แทนซิลิกอนในการพัฒนาอุปกรณ์ต่างๆ โดยได้มีการนำเสนอวิธีการต่างๆในการสร้างลวดลายบนกระดาษเพื่อใช้พัฒนาอุปกรณ์ประเภทกระดาษ เช่น วิธีการโฟโตลิโทกราฟี (photolithography), การพิมพ์ wax, การใช้เครื่องพลอตเตอร์, การพิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ท (inkjet printer) เป็นต้น แต่วิธีการเหล่านี้ยังมีข้อจำกัดบางประการ เช่น ต้องอาศัยเครื่องมือราคาแพง ไม่สามารถใช้สร้างในประมาณมากๆ หรือ ประเภทของวัสดุที่สามารถใช้ในการสร้างลวดลาย เป็นต้น ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการพัฒนาวิธีการใหม่โดยประยุกต์ใช้ลวดลายน้ำที่พิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ทเป็นหน้ากากป้องกันในการสร้างลวดลายของสารละลายประเภทที่ไม่มีขั้วบนกระดาษ ซึ่งมีจุดเด่น คือ มีต้นทุนต่ำ ผลิตได้ในปริมาณมากๆและสามารถใช้ได้กับวัสดุหลากหลายประเภท ในการทดลองได้ศึกษาปัจจัยที่มีผลในการสร้างลวดลาย ซึ่งประกอบด้วย ประเภทกระดาษ จำนวนครั้งที่พิมพ์ และ ความเข้มข้นของสารละลาย นอกจากนี้คณะวิจัยได้ประยุกต์ใช้วิธีที่พัฒนาขึ้นนี้ในการสร้างแล็ปบนชิปประเภทกระดาษเพื่อใช้ในการทดสอบโปรตีน bovine serum albumin และสภาพความเป็นกรดด่างen_US
dc.description.abstractalternativeIn the past 50 years, electronic devices have been developed by using silicon as the main material. However, silicon has become more expensive and electronic devices have been the cause of electronic waste issues. In recent years, paper substrate has been introduced as alternative to silicon in device development whereas several patterning methods for paper-based device development such as photolithography, wax printing, plotter, ink-jet printing have been proposed. However, these methods are still limited by some issues such as requirement of expensive equipment, incapability of mass production or choices of materials that can be used for patterning etc. Therefore, this work aims to develop a novel method by utilizing an ink-jet printed water pattern as a protective mask for patterning of non-polar solutions onto paper substrate. Its advantages are low cost, mass productive and capable of using a variety of materials. In the experiment, the factors that affect the patterning process including paper type, printing time, solution concentration were studied. Furthermore, we applied this patterning method to fabricate a paper-based lab-on-a-chip for detecting bovine serum albumin and pH.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.555-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการพิมพ์สามมิติ
dc.subjectThree-dimensional printing
dc.subjectPhotolithography
dc.subjectMolding (Chemical technology)
dc.titleการพัฒนากระบวนการสร้างลวดลายบนกระดาษโดยใช้หน้ากากน้ำเพื่อสร้างอุปกรณ์ประเภทกระดาษen_US
dc.title.alternativeDevelopment of Paper Patterning Method Using Water Mask for Paper-Based Device Fabricationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเครื่องกลen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorWerayut.S@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.555-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5570386621.pdf5.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.