Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44543
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุพจน์ เตชวรสินสกุลen_US
dc.contributor.authorอภินันท์ ตั้งเสริมวงศ์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-08-21T09:29:46Z-
dc.date.available2015-08-21T09:29:46Z-
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44543-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์ค่าอัตราเร่งสูงสุดของพื้นดิน (Peak Ground Acceleration : PGA) และประเมินการลดทอนค่าการสั่นสะเทือน โดยใช้ค่าอัตราเร่งสูงสุดของพื้นดินที่ตรวจวัดได้จากระบบตรวจวัดแผ่นดินไหวสถานีหลักทั้งหมด 40 แห่ง แบ่งเป็น สถานีตรวจวัดแผ่นดินไหวระบบที่หนึ่ง 15 แห่ง สถานีตรวจวัดแผ่นดินไหวระบบที่สอง 25 แห่ง และ สถานีตรวจวัดอัตราเร่งของพื้นดิน 25 แห่ง โดยในช่วงปีพ.ศ.2549-2551 มีเหตุการณ์ที่สามารถตรวจวัดได้จากสถานีตรวจวัดของกรมอุตุนิยมวิทยาทั้งหมด 72 ครั้ง และ ในช่วงปีพ.ศ.2551-2555 ทั้งหมด 122 ครั้ง โดยสถานีเฟสหนึ่ง สามารถตรวจวัดได้ทั้งหมด 91 ครั้ง และสถานีเฟสสองสามารถตรวจวัดได้ทั้งหมด 94 ครั้ง มีจุดศูนย์กลางส่วนมากอยู่ในฝั่งอันดามัน ได้แก่ บริเวณเกาะนิโคบา ทางเหนือของเกาะสุมาตรา ประเทศพม่า แนวรอยต่อระหว่างประเทศพม่าและจีน นอกจากนี้ยังมีบางเหตุการณ์มีจุดศูนย์กลางอยู่ในทะเลจีนใต้ ประเทศลาว ประเทศไทย ประเทศบังคลาเทศ ซึ่งตรวจพบน้อยมากในข้อมูลการตรวจวัดen_US
dc.description.abstractalternativeThis study objective aim to analyze the peak ground acceleration value and attenuation by using the peak ground acceleration value which measured by forty main stations, include fifteen of Phase one stations and twenty-five of Phase two stations. During the year 2006-2008, the Thai Meteorological Department‘s stations detected seventy-two earthquakes and the year 2008-2012 they detected one-hundred and twenty-two earthquakes, ninety-one and ninety-four earthquakes was detected by Phase one and Phase two stations respectively. The most of them have the epicenter in the Andaman Sea such as Nicobar Island and The North of Sumatra Island, Burma, The border of Burma and China. Few earthquakes was detected in South China Sea, Laos Republic, Thailand and Bangladesh.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.556-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectคลื่นไหวสะเทือน -- ไทย
dc.subjectรอยเลื่อน (ธรณีวิทยา)
dc.subjectแผ่นดินไหว
dc.subjectSeismic waves -- Thailand
dc.subjectFaults (Geology)
dc.subjectEarthquakes
dc.titleคุณลักษณะคลื่นสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวระยะไกลในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeSEISMIC CHARACTERISTIC OF FAR FIELD EARTHQUAKES IN THAILANDen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSupot.T@chula.ac.th,tsupot@gmail.com,tsupot@gmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.556-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5570448921.pdf7.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.