Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44633
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorChansongklod Gajasenien_US
dc.contributor.authorYanika Lunrasrien_US
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Educationen_US
dc.date.accessioned2015-08-21T09:30:35Z
dc.date.available2015-08-21T09:30:35Z
dc.date.issued2014en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44633
dc.descriptionThesis (M.Ed.)--Chulalongkorn University, 2014en_US
dc.description.abstractThis study aimed to investigate the extent to which the Ordinary National Educational Test (O-NET) had any washback effects on English language teaching and English language learning in Grade 9 as well as to explore teachers’ and students’ opinions towards the O-NET. The population was English teachers and Grade 9 students in the Secondary Educational Service Area Office 6 in Chachoengsao province in the academic year 2013. Both quantitative and qualitative data were collected in this study. For quantitative data, the participants consisted of 75 English teachers and 400 Grade 9 students. The instruments were questionnaires for both teachers and Grade 9 students. The independent samples t-test, means, and standard deviation were used to analyze the data. For qualitative data, the samples comprised 6 English teachers and 60 Grade 9 students. The instruments were semi-structured interviews of English teachers and group interviews of Grade 9 students. The content analysis was used to analyze the data. The results revealed that: 1) most English teachers agreed that the contents of the O-NET emphasized critical-thinking skills and the O-NET preparation had impact on teaching in classrooms. However, they had varied opinions towards the O-NET in terms of the consistency between the contents of the O-NET and contents in textbooks as well as using the O-NET scores to indicate how well students learned in classrooms; 2) the majority of Grade 9 students agreed that the O-NET could be used to check students’ language proficiency and the O-NET emphasized critical-thinking skills. However, they had varied opinions about the O-NET in terms of the consistency between the contents of the O-NET and contents in textbooks as well as the consistency between the contents of the O-NET and curriculum; 3) washback of the O-NET had negative impact in some aspects of language teaching. The results showed that teachers taught tested contents and used the O-NET related materials, adapted test-items from previous O-NET to school tests, allocated time for test-preparation, assigned homework relevant to the O-NET, and had high test anxiety; and 4) washback of the O-NET had both positive and negative impact on the aspects of language learning. Positive washback occurred when students focused learning on communicative skills and studied English harder to enhance their English abilities rather than to get high O-NET scores. In contrast, negative washback occurred when students spent time preparing for the test and had high level of test anxiety.en_US
dc.description.abstractalternativeการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (โอเน็ต) ที่มีต่อการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษและศึกษาความคิดเห็นต่อการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานของครูสอนวิชาภาษาอังกฤษและนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มประชากรคือครูสอนวิชาภาษาอังกฤษและนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 จังหวัดฉะเชิงเทรา ในปีการศึกษา 2556 งานวิจัยนี้ได้เก็บข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ในการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างคือ ครูจำนวน 75 คนและนักเรียนจำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถามของครูและนักเรียนโดยใช้สถิติทดสอบค่า t-test ของกลุ่มตัวอย่างที่เป็นอิสระต่อกัน 2 กลุ่ม ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานในการวิเคราะห์ข้อมูล ในการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างคือ ครูจำนวน 6 คนและนักเรียนจำนวน 60 คน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสัมภาษณ์เชิงกึ่งโครงสร้างของครูและแบบสัมภาษณ์กลุ่มของนักเรียนโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหาในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า (1) ครูส่วนใหญ่เห็นด้วยว่าเนื้อหาในข้อสอบโอเน็ตเน้นทักษะการคิดวิเคราะห์และการเตรียมตัวสอบโอเน็ตมีผลกระทบต่อการสอนในชั้นเรียน อย่างไรก็ตามครูมีความคิดเห็นต่อการสอบโอเน็ตที่แตกต่างกันในเรื่องของความสอดคล้องกันระหว่างเนื้อหาในข้อสอบโอเน็ตและเนื้อหาในหนังสือเรียน และการใช้คะแนนสอบเพื่อบ่งชี้ว่านักเรียนเรียนได้ดีแค่ไหนในชั้นเรียน (2) นักเรียนส่วนใหญ่เห็นด้วยว่าข้อสอบโอเน็ตใช้วัดความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษและเนื้อหาในข้อสอบเน้นทักษะการคิดวิเคราะห์ อย่างไรก็ตามนักเรียนมีความคิดเห็นต่อการสอบโอเน็ตที่แตกต่างกันในเรื่องของความสอดคล้องกันระหว่างเนื้อหาในข้อสอบโอเน็ตและเนื้อหาในหนังสือเรียน และความสอดคล้องกันระหว่างเนื้อหาในข้อสอบโอเน็ตกับหลักสูตร (3) การสอบโอเน็ตมีผลกระทบทางด้านลบต่อการสอนภาษาอังกฤษในบางด้าน ผลการวิจัยพบว่าครูสอนเนื้อหาที่ออกในข้อสอบและใช้สื่อการสอนที่เกี่ยวข้องกับการสอบ นำข้อสอบโอเน็ตย้อนหลังมาปรับใช้ในชั้นเรียน ใช้เวลาในการเตรียมตัวสอบ มอบหมายการบ้านที่เกี่ยวข้องกับข้อสอบโอเน็ต และมีความวิตกกังวลต่อการสอบในระดับสูง (4) การสอบโอเน็ตมีผลกระทบทางด้านบวกและด้านลบต่อการเรียนภาษาอังกฤษ ผลกระทบทางด้านบวกเกิดจากนักเรียนสนใจเรียนทักษะการสื่อสารและนักเรียนเรียนภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้นเพื่อพัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษมากกว่าการได้คะแนนสูงในการสอบโอเน็ต ในทางตรงกันข้ามผลกระทบทางด้านลบเกิดจากนักเรียนใช้เวลาในการเตรียมตัวสอบและมีความวิตกกังวลต่อการสอบในระดับสูงen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.98-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectEnglish language -- Examinations -- Thailand
dc.subjectEnglish language -- Study and teaching -- Thailand
dc.subjectJunior high school students -- Thailand -- Chachoengsao
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- การสอบ -- ไทย
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอน -- ไทย
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น -- ไทย -- ฉะเชิงเทรา
dc.titleWASHBACK EFFECTS OF THE ORDINARY NATIONAL EDUCATIONAL TEST (O-NET) ON ENGLISH LANGUAGE TEACHING AND LEARNING IN NINTH GRADEen_US
dc.title.alternativeผลกระทบของการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานที่มีต่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Educationen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineTeaching English as a Foreign Languageen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorChansongklod.G@Chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.98-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5583381627.pdf5.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.