Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44667
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปวีณา เชาวลิตวงศ์en_US
dc.contributor.authorวรัทธ์ วรรณรุ่งฤดีen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-08-21T09:30:52Z
dc.date.available2015-08-21T09:30:52Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44667
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractรูปแบบการเรียนรู้แบบ Problem based learning เป็นแนวทางหนึ่งในการเพิ่มทักษะในการแก้ปัญหาของผู้เรียนผ่านประสบการณ์การแก้ปัญหา โดยในงานวิจัยนี้ได้มีการพัฒนารูปแบบการสอนโดยใช้แนวทางของการจัดการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ (workshop) และองค์ประกอบที่สำคัญของรูปแบบการสอนดังกล่าว ซึ่งประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก 2 ระบบ คือ 1) ระบบการดำเนินการซึ่งประกอบด้วยองค์ประกอบย่อยๆ 3 องค์ประกอบได้แก่ การเตรียมตัวผู้เข้าร่วม, การบริหารแนวทางการทำงานของผู้เข้าร่วม, และการประเมินผลผู้เข้าร่วม 2) ระบบสนับสนุนคอยให้การสนับสนุนในแต่ละการดำเนินงานซึ่งระบบสนับสนุนนี้จะประกอบด้วย 4 องค์ประกอบย่อยได้แก่ ขั้นตอนการแก้ไขปัญหา, กรณีศึกษาที่ใช้ในการสอน, การบริหารจัดการองค์ความรู้, และเครื่องมือที่ใช้สนับสนุนการดำเนินงาน องค์ประกอบเหล่านี้ทำให้ผู้สอนสามารถสร้างสถานการณ์การเรียนรู้เพื่อเพิ่มทักษะในการแก้ปัญหาให้แก่ผู้เรียนได้ โดยแนวคิดในการแก้ปัญหานี้ผู้วิจัยได้มีการประยุกต์แนวคิดของการคิดเชิงระบบเข้ามามีส่วนช่วยให้ผู้เรียนสามารถที่จะดำเนินการแก้ปัญหาได้อย่างเป็นขั้นตอนและมีเหตุผลสนับสนุนที่ชัดเจน หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นขั้นตอนในการดำเนินการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบนั่นเอง ผู้วิจัยได้จัดทำ workshop จากองค์ประกอบที่นำเสนอ โดยได้ประยุกต์องค์ความรู้ในเรื่องการบริหารพัสดุคงคลัง จากนั้นได้นำ workshop ที่สร้างขึ้นไปทดสอบในรายวิชาที่จัดสอนการบริหารพัสดุคงคลังเพื่อสำรวจความคิดเห็นของผู้เรียน โดยจากผลลัพธ์ที่ได้จากการทดลองใช้สามารถสรุปได้ว่ารูปแบบการสอนในรูปแบบนี้ทำให้ผู้เรียนมีความเข้าใจในแนวทางในการแก้ปัญหามากขึ้น นอกจากนี้รูปแบบการสอนดังกล่าวยังมีส่วนช่วยในการพัฒนาความสามารถในการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ของผู้เรียนได้อีกด้วยen_US
dc.description.abstractalternativeProblem based learning is one of the useful learning method to enhance students' problem solving skills through hand-on working experiences. In this research, we develop the learning framework containing two main systems. The first system is Workshop Process System (WPS) which consists of 3 components: Student Preparation Management, Collaboration Process Management, and Evaluation Process Management. The second system is Workshop Support System (WSS) which consists of 4 components: Problem Solving Platform, Content Design, Skills and Knowledge Management, and Supporting Tools. With these components, instructor can construct the learning situation that enhance the students’ problem solving skills. The systems approach is applied in the problem solving process of the proposed learning system. A workshop, with Inventory management case studies, is developed from the proposed platform and is executed in an Inventory management class. The result from anonymous questionnaires shows that students can gain more understanding in the problem solving processes and also have more improvements in their knowledge applying abilities.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.879-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการแก้ปัญหาth
dc.subjectการเรียนที่ใช้ปัญหาเป็นฐานth
dc.subjectระบบการเรียนการสอน -- การออกแบบth
dc.subjectทฤษฎีสรรคนิยมth
dc.subjectการควบคุมสินค้าคงคลังth
dc.subjectProblem solvingen_US
dc.subjectProblem-based learningen_US
dc.subjectInstructional systems -- Designen_US
dc.subjectConstructivism (Education)en_US
dc.subjectInventory controlen_US
dc.titleระบบการเรียนการสอนเชิงปฏิบัติด้านการบริหารพัสดุคงคลังen_US
dc.title.alternativeA workshop based learning system for Inventory managementen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorpaveena.c@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.879-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5670364921.pdf5.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.