Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44704
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภาพร โพธิ์แก้ว-
dc.contributor.advisorถิรนันท์ อนวัชศิริวงศ์-
dc.contributor.authorพันธวิศ ติขะธรรม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-08-22T07:01:05Z-
dc.date.available2015-08-22T07:01:05Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44704-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractการวิจัยคุณภาพครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบททางสังคมที่มีผลต่อการรับรู้และพลังความน่าจดจำของตัวละครหญิงในละครโทรทัศน์ เรื่อง เกล็ดมรกต(พ.ศ.2546)และจุดเจ็บในดวง(พ.ศ.2541)ใจซึ่งผลิตขึ้น.ใหม่จากบทประพันธ์ทางวิทยุ ที่มีอายุเกือบ 40 ปี ของสมสุข กัลย์จาฤก การศึกษาครั้งนี้ ใช้วิธีวิจัยประกอบด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกนักเขียนบทละครโทรทัศน์ และการวิเคราะห์ตัวบท ทั้งจากบทละครโทรทัศน์และแผ่นวิดีทัศน์ ผลการวิจัยพบว่าบริบททางสังคมที่มีผลต่อการรับรู้และเข้าใจตัวละครเอกในเรื่องเกล็ดมรกต คือบรรทัดฐาน เรื่องผัวเดียวเมียเดียวที่มีอยู่ในสังคมปัจจุบัน ในขณะที่บริบททางสังคมของยุคที่ย้อนไปนับพันปีถูกเลือกมาใช้สำหรับการรับรู้และยอมรับถึงอำนาจเชิงเวทมนต์ของตัวละครดังกล่าว ส่วนบริบททางสังคมที่ส่งผลให้เรารับรู้ถึงความรู้สึกส่วนลึกและการกระทำของตัวละครเอกในเรื่องจุดเจ็บในดวงใจ คือ มีค่านิยมแบบชนชั้นและปฏิบัติต่อกันแบบไม่คำนึงถึงศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ พลังความน่าจดจำของตัวละครในละครทั้งสองเรื่อง เกิดจากการสร้างตัวละครให้มีมิติมีเลือดเนื้อมีจิตใจ โดย ใช้คุณลักษณะ สามประการดังนี้ 1.แรงปรารถนาสูงสุดที่ไม่มีทางสำเร็จของตัวละครเพราะตัวละครทั้งสองมีลักษณะที่ปฏิเสธความจริง รวมไปถึงการปฏิเสธคุณค่าที่แท้จริงของตนเอง 2.พลิกความอ่อนแอให้กลายเป็นพลังอำนาจในการทำร้ายคนอื่น 3.ความมุ่งมั่น ทะเยอทะยานของตัวละครทั้งสองen_US
dc.description.abstractalternativeThis qualitative research aims to study the social contexts influencing on characteristic perception and memorable quality of female characters in Thai drama: "Ked Morragot" (2003) and "Joodjeb Nai Duangjai" (1998) which were reproduced from radio drama scripts written by Somsook Kaljaruek for almost 40 years. The research methodologies used in this study include 1.) In-Dept interview of script writers 2.) Textual Analysis of television drama scripts and dvds. The research finds that, for "Ked Morragot", the present social context influencing on characteristic perception is the norm of monogamy but the ancient social context was implied to convince audiences' believe in the character's magic power. For "Joodjeb Nai Daungjai" social context implied in the story is that cultural practice related to class inequatity. The memorable quality of characters is that the dept and round characteristic associated with 3 attributes 1.) The character super objectives being impossible to reach 2.) Turning their weakness to be destructive power. 3.) The characters are extremely ambition.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.592-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสตรีในละครen_US
dc.subjectละครโทรทัศน์en_US
dc.subjectตัวละครและลักษณะนิสัยen_US
dc.subjectWomen in the theateren_US
dc.subjectTelevision playsen_US
dc.subjectCharacters and characteristicsen_US
dc.titleบริบททางสังคมในการสร้างตัวละครหญิงเรื่องเกล็ดมรกตและจุดเจ็บในดวงใจen_US
dc.title.alternativeThe social context implied in creation of female characters : drama’s characters of Ked Morragot and Joodjeb Nai Duangjaien_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSupaporn.Ph@chula.ac.th-
dc.email.advisorThiranan.A@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.592-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Panthawit_ti.pdf2.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.