Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44742
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorVitit Muntarbhorn-
dc.contributor.advisorDanthong Breen-
dc.contributor.advisorCarl Nigel Middleton-
dc.contributor.authorSutawan Chanprasert-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Political Science-
dc.date.accessioned2015-08-24T09:10:24Z-
dc.date.available2015-08-24T09:10:24Z-
dc.date.issued2012-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44742-
dc.descriptionThesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2012en_US
dc.description.abstractPrisoners under sentence of death in Thailand usually wait approximately a decade for completion of legal process of their cases, before they become eligible for Royal Pardon. Thereupon, they are eventually released after an amount of time. This outcome and the long time involved makes rehabilitation a highly important issue. The research is concerned with the extent to which Thailand complies with international human rights standards on rehabilitation for prisoners under sentence of death. In particular, it examines the issue of rehabilitation for prisoners under sentence of death at Bang Khwang Central Prison, based on three significant themes, namely, living conditions, rehabilitation programs, and external support systems. The information was obtained through secondary information and field research before being analyzed according to the international human rights framework. The findings show that the rehabilitation for prisoners under sentence of death is unsatisfactory. There are human rights violations on all the three themes. The research further proposes improvements that should be made in order to meet the human rights standards. Prison authorities should treat prisoners under sentence of death with more respect and dignity.en_US
dc.description.abstractalternativeโดยปกติแล้วนักโทษประหารในประเทศไทยมักต้องรอเป็นเวลาสิบปีโดยเฉลี่ยกว่ากระบวนการพิจารณาคดีของศาลจะสิ้นสุดลงซึ่งเป็นเวลาที่พวกเขาจะสามารถยื่นฎีกาขอพระราชทานอภัยโทษได้ หลังจากการอภัยโทษ พวกเขามักได้รับการลดโทษให้เหลือจำคุกตลอดชีวิต ซึ่งหากได้รับการพิจารณาพระราชทานอภัยโทษอีก ระยะเวลาการจำคุกก็จะลดน้อยลงเรื่อยๆ และได้รับการปล่อยตัวในที่สุด จากเหตุผลดังกล่าว การปฏิบัติต่อนักโทษประหารตามหลักสิทธิมนุษยชนเพื่อการแก้ไขฟื้นฟูพฤตินิสัยของพวกเขาตามวิสัยทัศน์ของกรมราชทัณฑ์หลังจากได้รับคำพิพากษาจากศาลสูงสุดจึงเป็นเรื่องที่สำคัญมาก งานวิจัยนี้มีขึ้นเพื่อตอบคำถามว่า ประเทศไทยได้ยึดถือและปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชนในแง่มุมใดบ้างเพื่อการแก้ไขฟื้นฟูนักโทษประหารที่มีประสิทธิภาพก่อนที่พวกเขาจะได้รับการพระราชทานอภัยโทษ โดยถือเอาเรือนจำกลางบางขวางเป็นกรณีศึกษา เนื่องจากเป็นเรือนจำแห่งเดียวในประเทศไทยที่มีนักโทษประหารซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่างของการวิจัย การวิจัยนี้ทำการศึกษาโดยแบ่งข้อมูลออกเป็นสามส่วนคือ สภาพภายในเรือนจำ หลักสูตรการแก้ไขฟื้นฟูและพัฒนาผู้ต้องขังของเรือนจำ และการสนับสนุนจากปัจจัยภายนอก ข้อมูลในการวิจัยในครั้งนี้แบ่งได้เป็นสองส่วนคือ ส่วนที่มาจากแหล่งที่มีข้อมูลอยู่ก่อนแล้ว และส่วนของข้อมูลที่ได้มาจากการสัมภาษณ์นักโทษ เจ้าหน้าที่เรือนจำ และผู้เกี่ยวข้อง การวิจัยข้อมูลเกิดขึ้นบนหลักสิทธิมนุษยชนสากล จากงานวิจัย พบว่า การปฏิบัติต่อนักโทษประหารที่เรือนจำกลางบางขวางยังไม่เป็นไปตามหลักสิทธิมนุษยชนสากล มีการละเมิดสิทธิมนุษยชนจากสภาพการณ์ภายในเรือนจำที่ไม่เคารพความเป็นส่วนตัวของนักโทษและมีผลต่อสุขภาพพลานามัยของนักโทษ เรือนจำไม่มีหลักสูตรเพื่อการแก้ไขฟื้นฟูและพัฒนาผู้ต้องขัง และการติดต่อกับครอบครัวยังคงมีอุปสรรคด้วยกฎของเรือนจำ งานวิจัยได้สรุปว่า เรือนจำควรจะปรับปรุงวิธีการปฏิบัติต่อนักโทษประหารให้เป็นไปตามหลักสิทธิมนุษยชนสากลเพื่อการแก้ไขฟื้นฟูและพัฒนาที่มีประสิทธิภาพ การตั้งกฎต่างๆ ในเรือนจำควรคำนึงถึงสิทธิมนุษยชนและการให้เกียรติเพื่อนมนุษย์ด้วยกันควบคู่ไปกับนโยบายด้านความปลอดภัย เพื่อให้นักโทษสามารถใช้ชีวิตได้อย่างปกติหลังจากกลับคืนสู่สังคมen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.660-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectBangkhwang Central Prison -- Administrationen_US
dc.subjectCapital punishmenten_US
dc.subjectCriminals -- Rehabilitationen_US
dc.subjectHuman rightsen_US
dc.subjectเรือนจำกลางบางขวาง -- การบริหารen_US
dc.subjectโทษประหารชีวิตen_US
dc.subjectอาชญากร -- การฟื้นฟูสมรรถภาพen_US
dc.subjectสิทธิมนุษยชนen_US
dc.titleRehabilitation for prisoners under sentence of death in a human rights perspective : a case study of Bangkhwang Central Prisonen_US
dc.title.alternativeการฟื้นฟูสมรรถภาพของนักโทษประหารจากทัศนะด้านสิทธิมนุษยชน : กรณีศึกษาเรือนจำกลางบางขวางen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Artsen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineInternational Development Studiesen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorNo information provided-
dc.email.advisorNo information provided-
dc.email.advisorNo information provided-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.660-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sutawan_ch.pdf2.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.