Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44849
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวันชัย ตรียะประเสริฐ-
dc.contributor.advisorสมฤทัย วัชราวิวัฒน์-
dc.contributor.authorสิรีนุช ศรีสัตยเสถียร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-09-01T08:44:16Z-
dc.date.available2015-09-01T08:44:16Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44849-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ภ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความชุกและประเภทของปัญหาจากการใช้ยาที่ใช้ควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด และยาที่เกี่ยวข้องกับปัญหานั้น ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายที่รอรับการปลูกถ่ายไต วิธีการศึกษา: การวิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา ทำการศึกษาที่คลินิกก่อนการปลูกถ่ายไต โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เก็บข้อมูลที่จุดเวลาหนึ่ง (cross-sectional study) ในผู้ป่วยที่อยู่ในรายชื่อรอรับการปลูกถ่ายไตที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ทุกคน ซึ่งมีนัดตรวจประเมินความพร้อมของร่างกายก่อนการปลูกถ่ายไตตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2554 ถึง กุมภาพันธ์ 2555 เภสัชกรจะเก็บข้อมูลความชุกของปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด และประเมินว่าผู้ป่วยมีปัญหาจากการใช้ยาที่เกี่ยวข้องหรือไม่ ปัญหาจากการใช้ยาที่พบถูกจัดแบ่งประเภทโดยใช้เกณฑ์ของ Cipolle และคณะ และยืนยันความถูกต้องโดยเภสัชกรผู้เชี่ยวชาญภายนอก ผลการศึกษา: จากผู้ป่วยทั้งหมด 112 คน พบปัญหาจากการใช้ยาเพื่อควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยจำนวน 106 คน (ร้อยละ 94.64) พบจำนวนปัญหาทั้งหมด 229 ปัญหา ปัญหาที่พบบ่อยคือ ปัญหาขนาดของยาต่ำเกินไป (ร้อยละ 28.38) ปัญหาความไม่ร่วมมือในการใช้ยา (ร้อยละ 21.40) และปัญหาความต้องการการรักษาด้วยยาเพิ่มเติม (ร้อยละ 19.21) รายการยาที่พบบ่อยที่สุดว่ามีความสัมพันธ์กับปัญหาจากการใช้ยาที่พบในแต่ละปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด คือ furosemide (ร้อยละ 25) สำหรับควบคุมความดันสูง erythropoiesis-stimulating agents (ร้อยละ 65.17) สำหรับควบคุมภาวะเลือดจาง insulin (ร้อยละ 100) สำหรับควบคุมเบาหวาน simvastatin (ร้อยละ 37.5) สำหรับควบคุมภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ และ Calcium-based phosphate binders (ร้อยละ 43.30) สำหรับควบคุมความผิดปกติของสมดุลแร่ธาตุและกระดูก สรุปผลการศึกษา: ผู้ป่วยเกือบทุกคนที่รอรับการปลูกถ่ายไตมีปัญหาจากการใช้ยาเพื่อควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด และพบปัญหาประมาณ 2 ปัญหาต่อผู้ป่วยหนึ่งคนen_US
dc.description.abstractalternativeObjectives: To determine the prevalence, category, and medications related to drug-related problems in the cardiovascular risk management in ESRD patients on the waiting list for renal transplantation. Methods: A cross-sectional descriptive study was conducted in kidney transplant candidates listed at the Pre-KT clinic, King Chulalongkorn Memorial Hospital. All patients who had their appointment for regular pre-transplantation evaluation from July 2011 to February 2012 were enrolled in this study. Drug-related problems were identified by a clinical pharmacist using the criteria described by Cipolle, et al. and were confirmed by external expert opinion. Results: Of the 112 patients, 106 (94.64%) had drug-related problems related to cardiovascular risk management. A total of 229 drug-related problems were detected. The most common drug-related problems identified were dosage too low (28.38%), noncompliance (21.40%), and need for additional drug therapy (19.21%). The medicines most frequently involved in drug-related problems related to each cardiovascular risk factors were furosemide (25%) for controlling hypertension, erythropoiesis-stimulating agents (65.17%) for anemia control, insulin (100%) for diabetes control, simvastatin (37.5%) for controlling dyslipidemia , and calcium-based phosphate binders (43.30%) for controlling renal bone disease problem. Conclusions: Almost all patients awaiting renal transplantation had drug-related problems in the management of cardiovascular risk factors and 2 drug-related problems were found in each patient on average.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1693-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectหัวใจ -- โรคen_US
dc.subjectการใช้ยาen_US
dc.subjectไต -- การปลูกถ่ายen_US
dc.subjectHeart -- Diseasesen_US
dc.subjectKidneys -- Transplantationen_US
dc.subjectDrug utilizationen_US
dc.titleปัญหาจากการใช้ยาควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยที่รอรับการปลูกถ่ายไต ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์en_US
dc.title.alternativeDrug-related problems in cadiovascular risk manangement in patients awaiting renal transplantation at King Chulalongkorn Memorial Hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเภสัชศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเภสัชกรรมคลินิกen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorWanchai.T@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1693-
Appears in Collections:Pharm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sirinuch_sr.pdf2.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.