Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45024
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบัณฑิต จุลาสัย-
dc.contributor.authorศิริลักษณ์ ก่ำศิริ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-09-07T03:05:48Z-
dc.date.available2015-09-07T03:05:48Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45024-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractอาคารสำนักงานให้เช่า เป็นธุรกิจประเภทที่ต้องใช้เงินลงทุนจำนวนมาก เพื่อให้ได้มาซึ่งอาคารที่มีประสิทธิภาพและศักยภาพในการแข่งขันทางธุรกิจ การดำเนินการดูแลอาคารสำนักงาน จึงมีความสำคัญและจำเป็นต่ออาคารสำนักงาน อย่างไรก็ตาม รูปแบบการเช่าอาจส่งผลต่อการดูแลอาคารต่างกัน จึงศึกษาเปรียบเทียบระหว่าง อาคารกลาสเฮ้าส์ รัชดา อาคารสำนักงานที่มีผู้เช่ารายเดียว และ อาคารกลาสเฮ้าส์ สุขุมวิท อาคารสำนักงานที่มีผู้เช่าหลายราย อาคารกลาสเฮ้าส์ รัชดา มีขนาดพื้นที่อาคารรวม 13,362.00 ตารางเมตร สูง 17 ชั้น ปัจจุบันมีอายุอาคาร 21 ปี มีผู้ดูแลอาคารจำนวน 29 คน โดยมีผู้เช่า คือ บริษัท ทุนธนชาต จำกัด(มหาชน) อาคารกลาสเฮ้าส์ สุขุมวิท พื้นที่อาคารรวมโครงการ 26,651.50 ตารางเมตร สูง 17 ชั้น ปัจจุบันอายุอาคาร 21 ปีเท่ากัน มีผู้ดูแลอาคารจำนวน 32 คน มีผู้เช่าอาคารจำนวน 56 บริษัท จากการศึกษาพบว่า การดูแลอาคารสำนักงานที่มีผู้เช่ารายเดียวกับหลายราย ส่งผลทำให้ภาระงานต่างกัน คือ อาคารที่มีผู้เช่าหลายรายจะมีการจัดหาผู้เช่าพื้นที่อาคาร ส่วนความแตกต่างด้านอื่นพบว่า เป็นไปเพราะลักษณะทางกายภาพ โดยอาคารกลาสเฮ้าส์ รัชดามีพื้นที่โดยรอบอาคารเป็นลานจอดรถและสวน ส่วนอาคารกลาสเฮ้าส์สุขุมวิท มีอาคารจอดรถ ส่งผลให้ระบบการดูแลพื้นที่ และงานรักษาความปลอดภัยต่างกัน ยังพบอีกว่า อาคารกลาสเฮ้าส์ รัชดา พื้นที่สำนักงานมีขนาดเล็ก ทำให้ พื้นที่เช่ารวมส่วนพื้นที่ห้องน้ำและทางสัญจร เนื่องจาก บริษัท เอ็มบีเค จำกัด(มหาชน) เป็นเจ้าของอาคาร กลาสเฮ้าส์ รัชดา และ อาคารกลาสเฮ้าส์ สุขุมวิท บริหารอาคารโดย บริษัท เอ็มบีเค สแควร์ พบว่า งานจัดซื้อมีความซ้ำซ้อน จึงมีข้อเสนอแนะ รวมส่วนงานฝ่ายจัดซื้อจัดจ้าง เป็นหน่วยงานส่วนกลางen_US
dc.description.abstractalternativeLeasing out office buildings is a business that requires a large investment to acquire buildings that are efficient and competitive in the market. Proper management of office buildings is also important and necessary. However, leasing patterns may affect the way the buildings are managed and may result in the use of different building management methods. This research study thus aims to compare the Glas Haus Building Ratchada, which has only one lessee and the Glas Haus Building Sukhumwit, which has several lessees. According to the research findings, the seven-storey GHBR has a total of 13,362.00 square meters in area. It is 21 years old and has a 29-person building management staff. The lessee is Thanachart Capital Public Company Limited. Meanwhile, the GHBS is 17-stories high, with a total of 26,651.50 square meters in area. While it is also 21 years old, the building management comprises 32 staff members and has 56 company lessees. The research results revealed that there were many differences in building management. The obvious difference that affected the workload and resulted in different work requirements was that with several lessees, greater effort was needed for finding people to rent. Other differences naturally resulted from the physical characteristics. The area around the GHBR features a parking lot and gardens while the parking space for the GHBS is in the building. As a result, the facilities management system and security are different. In addition, it was also found that the GHBR office space area is small and the proportioning of office space leased out is not clear cut. The space leased out thus included restroom areas and traffic areas. Both office buildings are owned by MBK Public Company Limited and both are managed by MBK Square Company Limited. While both buildings share the same administration, accounting, and finance, they have separate teams of building management and operations. As a result, it was found that the purchasing duties overlapped. It is thus recommended that the purchasing be consolidated and set up as a common work unit.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1749-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอาคารสำนักงานen_US
dc.subjectOffice buildingsen_US
dc.titleการดูแลอาคารสำนักงานให้เช่าที่มีผู้เช่ารายเดียวกับผู้เช่าหลายราย โดยมีเจ้าของร่วมกัน : กรณีศึกษา อาคารกลาสเฮ้าส รัชดา และอาคารกลาสเฮ้าส สุขุมวิทen_US
dc.title.alternativeFacility management of office buildings with single and multiple tenants with the same landlord : a case study of the Glas Haus building Ratchada and Glas Haus building Sukhumviten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสถาปัตยกรรมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorBundit.C@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1749-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
siriluck_kh.pdf3.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.