Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45050
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุชาดา บวรกิติวงศ์-
dc.contributor.authorนวพร สุนันท์ลิกานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-09-07T09:46:12Z-
dc.date.available2015-09-07T09:46:12Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45050-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาวิธีการประเมินการเรียนการสอนของครูที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน 2) พัฒนาวิธีการประเมินการเรียนการสอนของครูโดยใช้กระบวนการเก็บข้อมูลจากนักเรียนตามแนวคิดโมเสค 3) ศึกษาผลของการใช้วิธีการประเมินการเรียนการสอนของครูตามแนวคิดโมเสคที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการจัดการเรียนการสอนของครู ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ครูประจำวิชาภาษาไทย 1 คน และครูประจำวิชาคณิตศาสตร์ 1 คน นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สายศิลป์-คำนวณ จำนวน 5 คนและสายศิลป์-ภาษา จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ แนวการสัมภาษณ์ แบบบันทึกภาคสนาม แบบบันทึกการสังเกต แบบบันทึกการสัมภาษณ์ แบบบันทึกการสนทนาเชิงวิพากษ์ เครื่องบันทึกเสียง เครื่องบันทึกวีดีโอและภาพถ่าย การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis) และ การวิเคราะห์วาทกรรม (discourse analysis) โดยใช้โปรแกรม MAXQDA ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ คือ (1) วิธีการประเมินการเรียนการสอนของครูที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน มีทั้งหมดได้ 9 วิธี โดยวิธีการที่ใช้มากที่สุดคือการประเมินจากการถามคิดเป็นร้อยละ 24.72 รองลงมา คือ การประเมินจากแบบทดสอบคิดเป็นร้อยละ 20.22 และวิธีที่สาม คือ การประเมินจากกิจกรรมในชั้นเรียน คิดเป็นร้อยละ 15.17 (2) ครูพัฒนาวิธีการประเมินการเรียนการสอนโดยปรับโครงสร้างวิธีการประเมินที่ใช้อยู่เดิม ปรับลดบทบาทของครูและเพิ่มบทบาทของนักเรียนขั้นตอนในการพัฒนาวิธีการประเมินการเรียนการสอนประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ได้แก่ การเก็บข้อมูลจากนักเรียน การนำผลสะท้อนจากนักเรียนไปพัฒนาวิธีการประเมินผ่านการสนทนาเชิงวิพากษ์ และการปรับบทบาทและวิธีการประเมินการเรียนการสอนของครู (3) ครูปรับบทบาทในชั้นเรียน ตระหนักถึงการเปิดโอกาสให้นักเรียนเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมในชั้นเรียนมากขึ้น ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียน และนักเรียนกับนักเรียนดีขึ้น เมื่อพิจารณาตามผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนพบว่าวิธีการนี้ใช้ได้ดีกับนักเรียนกลุ่มเก่ง ครูควรให้ความสนใจผลสะท้อนจากนักเรียนกลุ่มกลางลงมาด้วยen_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were: 1) to study the evaluation methods of learning and teaching of teacher which are commonly used 2) to develop the evaluation methods by using data collecting processes based on mosaic approach 3) to study results of using the developed evaluation methods affecting on learning and teaching of teacher’s behavior. The samples of this study were a Thai language teacher, a mathematics teacher, 5 students from arts-mathematics program and other 5 students from arts-Chinese language. The research instruments were open-ended questions, field notes, observation form, interview recording form, critical dialogue recording form, voice recorder, video recorder and camera. Qualitative data was analyzed on using content analysis and discourse analysis by MAXQDA. The research findings are as follows: (1) The evaluation methods which are commonly used are 9 assessment methods which the most frequently used is asking (24.72%) followed by testing (20.22%). Thirdly are classroom activities (15.17%). (2) Teachers developed evaluation methods by restructuring existing assessment methods, reducing the role of the teacher and enhancing the role of students. There are three phases of using data collecting processes based on mosaic approach to develop the evaluation methods which are collecting data from students, then transfer students’ feedbacks to teacher through critical dialogue and teacher’s changing role and adapting new evaluation methods. (3) Teachers adjusted their roles and gave students opportunities to participate in classroom activities. So it enhanced the interactive between students and teachers and student themselves. Based on academic achievement, it showed that this method works well for a talented group of students. Thus, teachers should pay more attention to the feedbacks of the other groups of students.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1231-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการสอนen_US
dc.subjectครูen_US
dc.subjectการประเมินผลทางการศึกษาen_US
dc.subjectTeachingen_US
dc.subjectTeachersen_US
dc.subjectEducational evaluationen_US
dc.titleการพัฒนาวิธีการประเมินการเรียนการสอนของครูตามแนวคิดโมเสคen_US
dc.title.alternativeDevelopment of instructional evaluation methods of teachers based on mosaic approachen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิธีวิทยาการวิจัยการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1231-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
navaporn_su.pdf6.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.