Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45051
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาชัญญา รัตนอุบล-
dc.contributor.authorนันทรัตน์ อมาตยกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-09-07T09:47:38Z-
dc.date.available2015-09-07T09:47:38Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45051-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ก) ศึกษาสถานภาพผู้สูงอายุที่มีศักยภาพตามองค์ประกอบ 5 ด้าน คือ 1) สุขภาพกายดี 2) สุขภาพจิตดี 3) มีการจัดการการเงิน 4) มีความสัมพันธ์กับชุมชน และ 5) ทำตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ข) เพื่อศึกษาระดับความต้องการเรียนรู้ ค) วิเคราะห์ระดับความรู้ ง) วิเคราะห์ระดับความสำคัญของปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้เพื่อการเป็นผู้สูงอายุที่มีศักยภาพ และ จ) ศึกษาความแตกต่างระหว่าง เพศ อายุ และระดับการศึกษาที่มีความสัมพันธ์กับตัวแปรด้านต่างๆ ผู้วิจัยมีสมมุติฐานว่าผู้สูงอายุที่มีศักยภาพแตกต่างกันจะมีความต้องการเรียนรู้ ระดับความรู้ และให้ความสำคัญกับปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างสมาชิกในชมรมของสำนักงานกรุงเทพมหานคร ทำการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิจำนวน 395 คน ใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ข้อมูล ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของ 2 กลุ่มด้วยค่า t-test และมากกว่า 2 กลุ่ม ด้วยค่า F-test (One way ANOVA) ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างประเมินตนเองว่ามีศักยภาพอยู่ในระดับดี มีความต้องการเรียนรู้ในระดับมาก เรียงตามลำดับคะแนนเฉลี่ยคือ การดูแลสุขภาพ การปรับตัวให้มีสุขภาพจิตดี การสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนและการทำประโยชน์ให้สังคม และประเมินตนเองว่ามีความรู้ในในองค์ประกอบ5ด้าน ระดับสูง มีความเห็นว่าปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดการเรียนรู้ที่สำคัญเรียงตามลำดับคะแนนเฉลี่ย คือ 1) แรงจูงใจที่อยากเรียนรู้ของผู้สูงอายุ 2) ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ 3) การชักนำจากสมาชิกในสังคมให้เรียนรู้ 4) มาตรการส่งเสริมการเรียนรู้ของรัฐ 5) สมาชิกในครอบครัว 6) กฏหมายที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 7) ปัจจัยทางเทคโนโลยีเช่นอินเทอร์เน็ต ความแตกต่างระหว่าง เพศ อายุ และระดับการศึกษาที่มีความสัมพันธ์กับความต้องการเรียนรู้ ความรู้ และปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดการเรียนรู้ การทดสอบสมมติฐานพบว่า ผู้สูงอายุที่ประเมินตนเองว่ามีศักยภาพดีและดีมากทั้ง 5 ด้าน มีความต้องการเรียนรู้มาก มีความรู้สูง และให้ความสำคัญสูงกับแรงจูงใจ ว่าเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ ซึ่งเป็นความเห็นที่ต่างจากผู้สูงอายุที่อยู่ในกลุ่มที่ประเมินตนเองว่ามีศักยภาพปานกลาง หรือไม่ดีen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research aims to 1) Examine the status of the competent elderly as active aging that possess five factors of competence; physical health, mental health, financial management, relationship with the community, and contribution to society 2) To study the learning needs. 3) Assess the elderly knowledge level. 4) Analyze the level of importance on factors affecting learning for being a competent elderly, and 5) the relationship between gender, age, and education level with the variables. The hypothesis was; the elderly possessed different level of competency would have differences in learning needs, level of knowledge, and level of importance on learning factors. The researchers used a questionnaire as a tool to collect data from the elderly clubs of the Bangkok Metropolitan Administration, used stratified random sampling of 395 people, used the method of mean average, standard deviation to analyze the data, and tested the differences with t-test and the f-test at the 0.05 level confidences. As a result, the elderly assessed their competency as good and learning needs as high. The elderly assessed their knowledge of the five-competency factors as high. The assessment of the factors affecting learning ranked by mean average 1) Self-motivation to learn. 2) Economic thrust. 3) The induction from the community. 4) Government measures in learning, 5) Family members. 6) The law that facilitate to learning, 7) Technology-the Internet. Differences between gender, age, and education had a relationship with the differences of the variables. The hypothesis test of elderly group assessed competency as good or very good indicated differences in their needs to learn, level of knowledge, and level of important on factors affecting learning, from the elderly group assessed their competency as fair or poor.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.193-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการเรียนรู้en_US
dc.subjectผู้สูงอายุen_US
dc.subjectLearningen_US
dc.subjectOlder peopleen_US
dc.titleการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้เพื่อการเป็นผู้สูงอายุที่มีศักยภาพen_US
dc.title.alternativeA study of the factors affecting the elderly’s for active agingen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการศึกษานอกระบบโรงเรียนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorArchanya.R@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.193-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
nantarat_am.pdf2.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.