Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45077
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินตวีร์ คล้ายสังข์-
dc.contributor.authorสุพีรา ดาวเรือง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-09-08T06:30:30Z-
dc.date.available2015-09-08T06:30:30Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45077-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้การเรียนรู้แบบกิจกรรมเป็นฐานและเทคนิคเพื่อนคู่คิดบนวิกิเพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งเป็นงานวิจัยและพัฒนา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียน โรงเรียนราชินี กรุงเทพมหานคร ที่กำลังศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) แบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ (2) เว็บการเรียนตามรูปแบบฯ (3) แบบสังเกตร่องรอยบนวิกิ โดยผู้วิจัยได้ออกแบบจากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ร่วมกับการเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์ความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญในด้านที่เกี่ยวข้อง แล้วสรุปเป็นรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้การเรียนรู้แบบกิจกรรมเป็นฐานและเทคนิคเพื่อนคู่คิดบนวิกิเพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์มีองค์ประกอบ 4 อย่าง ได้แก่ (1) สื่อการสอน (2) ระบบจัดการเรียนรู้ (3) การติดต่อสื่อสาร (4) การวัดและประเมินผล ขั้นตอนของรูปแบบ 6 ขั้นตอน ได้แก่ (1) ขั้นตั้งจุดมุ่งหมาย (2) ขั้นสอนเนื้อหา (3) ขั้นนำ (4) ขั้นกิจกรรม (5) ขั้นอภิปราย (6) ขั้นนำเสนอผลงาน ผลการศึกษาพบว่านักเรียนที่เข้าร่วมในกลุ่มทดลองมีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์หลังการทดสอบค่าเฉลี่ยคะแนนอย่างมีนัยสำคัญสูงกว่าก่อนการทดสอบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThis research and development was conducted to develop a model of Blended e-Learning using Activity-based Learning and Think Pair Share on a Wiki to enhance the creative problem-solving ability of ninth-grade students. The sample group in this study comprised 30 ninth-grade students who were studying in the second semester of the 2012 academic year. The research instruments used in this study consisted of: 1) a creative problem-solving ability test; 2) a blended e-Learning site with a Wiki; and 3) a Wiki observation form, all of which were designed from a study of related concepts, theories, and other research studies. The importance of Blended Learning, Activity-based Learning, Think Pair Share, E-Learning, and Creative Problem-solving Ability was analyzed and synthesized together with additional information from an interview with experts whose opinions were provided on related topics. The form of Blended Learning comprised 4 elements which were: 1) online instructional media; 2) a Learning Management System; 3) communication; and 4) assessment and evaluation. There were 6 steps including: 1) purpose setting; 2) contents teaching; 3) introduction; 4) activities participation; 5) discussion; and 6) presentation. The results indicated that students who participated in the experimental group had creative problem-solving post-test mean scores that were significantly higher at the .05 level of significance than their pre-test mean scores.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.35-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการเรียนรู้แบบผสมผสานen_US
dc.subjectการเรียนแบบมีส่วนร่วมen_US
dc.subjectการแก้ปัญหาen_US
dc.subjectBlended learningen_US
dc.subjectActive learningen_US
dc.subjectProblem solvingen_US
dc.titleการพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้การเรียนรู้แบบกิจกรรมเป็นฐานและเทคนิคเพื่อนคู่คิดบนวิกิเพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3en_US
dc.title.alternativeDevelopment of a blended learning model using activity-based learning and a think pair share technique on a Wiki to enhance the creative problem-solving ability of ninth grade studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสูตรen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorjintavee.m@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.35-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supeera_da.pdf6.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.