Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45082
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิชญ รัชฎาวงศ์-
dc.contributor.authorสิรัญญิการ์ ปัญญายุทธ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-09-08T06:51:39Z-
dc.date.available2015-09-08T06:51:39Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45082-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ทำการปรับปรุงสภาพตะกอนด้วยคลื่นไมโครเวฟโดยศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการดึงน้ำออกจากตะกอนน้ำเสียชุมชน ตะกอนที่ใช้ในการทดลองมาจากโรงควบคุมคุณภาพน้ำกรุงเทพฯ 5 แห่ง ได้แก่ โรงควบคุมคุณภาพน้ำดินแดง โรงควบคุมคุณภาพน้ำหนองแขม โรงควบคุมคุณภาพน้ำรัตนโกสินทร์ โรงควบคุมคุณภาพน้ำช่องนนทรี และโรงควบคุมคุณภาพน้ำสี่พระยา ผลจากการวิเคราะห์ตะกอนของโรงควบคุมคุณภาพทั้งห้าแห่งพบว่า มีค่าของแข็งแขวนลอยระเหยง่ายเท่ากับ 9,034±15.27 4,779±102.14 4,621±15.28 3,511±15.28 และ 3,328±92.38 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามลำดับ หากตะกอนมี ค่าของแข็งแขวนลอยระเหยง่ายสูงจะมีค่าความต้านทานจำเพาะต่อการกรองสูง คือ 13.23 4.46 3.48 0.58 และ 0.28 ×1012เมตรต่อกิโลกรัม ตามลำดับ เมื่อค่าการปรับปรุงสภาพตะกอนด้วยคลื่นไมโครเวฟ ที่แปรเปลี่ยนค่า ระดับพลังงาน 3 ระดับ คือ 500 600 และ 900 วัตต์ ที่ระยะเวลา 60 100 และ 120 วินาที จากผลการศึกษาพบว่า สภาวะที่เหมาะสมในการปรับปรุงสภาพตะกอนจากระบบแอกทิเวเต็ดสลัดจ์อยู่ที่ระยะเวลา 120 วินาที และ ระดับพลังงานที่ 900 วัตต์ โดยมีค่าความต้านทานจำเพาะต่อการกรองลดลงตามลำดับ สำหรับตะกอนจาก โรงควบคุมคุณภาพน้ำดินแดง หนองแขม รัตนโกสินทร์ ช่องนนทรี และสี่พระยา ดังนี้ 5.26 2.88 1.92 0.41 และ 0.17×1012 เมตรต่อกิโลกรัม ค่าการปรับปรุงสภาพตะกอนด้วยสารโพลิเมอร์ประจุบวก โดยทำการทดลองกับตะกอนน้ำเสียจากโรงควบคุมคุณภาพน้ำดินแดง และหนองแขมเมื่อใช้สารโพลิเมอร์ ที่ 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 และ 1.0 มิลลิกรัมต่อกรัม ของของแข็งทั้งหมด สภาวะที่เหมาะสมที่คือ 0.8 มิลลิกรัมต่อกรัมของของแข็งทั้งหมด โดย มีค่าความต้านทานจำเพาะต่อการกรองเท่ากับ 5.64 และ 2.58 ×1012 เมตรต่อกิโลกรัม ตามลำดับ เมื่อเปรียบพบว่าประสิทธิภาพการดึงน้ำออกจากตะกอนน้ำเสียชุมชนโดยคลื่นไมโครเวฟและสารโพลิเมอร์ มีผลใกล้เคียงกันen_US
dc.description.abstractalternativeThis research focuses on the study of factors affecting the extraction of water from the sewage sludge. The idea is to improve the dewaterability by microwave and polymer. It is a method that can be applied to improve the dewatering characteristics of sludge. This method uses molecular rotation principle, which can cause heat to build up rapidly and cause modifications to the structure of the sludges. This would cause water to come out of sludge. Sludge used in the experiment, were form Din Dang, Nong Khaem, Rattanakosin, Chong Nonsi, Si Phraya. The volatile suspended solids were 9,034 ±15.27 4,779 ±102.14 4,621 ±15.28 3,511 ±15.28 and 3,328 ±92.38 mg/L, respectively, The volatile suspended solids were related to specific resistance to filtration and was found to be 13.23 4.46 3.48 0.58 and 0.28 × 1012m/kg. For the sludge dewaterability improvement, the experiment used power levels of 500, 600 and 900 watts at 60, 100 and 120 seconds. The results showed that the optimum conditions for the improvement of dewaterability was at time = 120 sec and power = 900 W, The SRF were 5.26 2.88 1.92 0.41 and 0.17 × 1012 m/kg, for Din Dang, Nong Khaem, Rattanakosin, Chong Nonsi, Si Phraya, respectively. For with cationic polymer, we used polymer at 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 and 1.0 mg/g of total solids. Optimal condition was 0.8 mg/g. The specific filtration resistance (SRF) equaled to 5.64 and 2.58 × 1012 m/kg for Din Dang, Nong Khaem, respectively. For sludge microwave pretreatment, conditions were not optimal due to the limitations of the microwave available commercially.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1252-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectไมโครเวฟen_US
dc.subjectโพลิเมอร์en_US
dc.subjectน้ำเสียชุมชนen_US
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- การตกตะกอนen_US
dc.subjectMicrowavesen_US
dc.subjectPolymersen_US
dc.subjectSewage -- Purification -- Precipitationen_US
dc.titleปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการดึงน้ำออกจากตะกอนน้ำเสียชุมชนด้วยโพลิเมอร์และไมโครเวฟen_US
dc.title.alternativeFactors affecting dewaterability of sewage sludge by polymer and microwaveen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPichaya.R@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1252-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Siranyika_pa.pdf4.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.