Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/450
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริเดช สุชีวะ-
dc.contributor.authorมัฮดี แวดราแม, 2523--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-06-22T09:11:20Z-
dc.date.available2006-06-22T09:11:20Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9741763336-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/450-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractวิเคราะห์มโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนและการปฏิบัติในการประเมินคุณภาพการศึกษา และเปรียบเทียบมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนระหว่างโรงเรียนในสังกัดต่างๆ 5 สังกัด ได้แก่ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ สังกัดกรมสามัญศึกษา สังกัดสำนักงานคณะการการศึกษาเอกชน สังกัดสำนักการศึกษาท้องถิ่น (เทศบาล) และสังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้รับผิดชอบการประเมินของสถานศึกษาจำนวน 225 โรงเรียนจากสังกัดต่างๆ 5 สังกัด เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบ การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว และการทดสอบสถิติที ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการวิเคราะห์มโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนในการประเมินคุณภาพการศึกษา พบว่า สถานศึกษามีมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนที่สำคัญคือ การประเมินเป็นงานเฉพาะกิจทำเฉพาะช่วงที่มีผู้มาประเมิน การประเมินภายในจำเป็นต้องสร้างเอกสารประกอบการประเมินในทุกตัวบ่งชี้ ผู้ที่ใช้ผลการประเมินคือครูและนักเรียนในสถานศึกษาเท่านั้น และการประเมินคุณภาพการศึกษาคือการประเมินเพื่อขอใบรับรองจาก สมศ. 2. ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนนมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนจำแนกตามสังกัดต่างๆ พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยพบว่า สังกัดสำนักการศึกษาท้องถิ่นมีคะแนนมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนมากที่สุด รองลงมาได้แก่สังกัดกรุงเทพมหานคร และสังกัดคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ตามลำดับen
dc.description.abstractalternativeTo analyze misconceptions and practices in educational quality assessment and to compare misconceptions between schools in The Office of the Private Education Commission, Office of the National Primary Education, Department of General Education, Department of Education Bangkok Metropolitan Administration and The Office of the Municipal Schools. The sample was 225 schools from five groups above. The research instrument is a set of questionnaire. The data was analyzed by frequency, percent, arithmetic mean, standard deviation. Factor analysis, one-way ANOVA and t-test. The research findings were summarized as follows 1. The important misconceptions in educational quality assessment were the quality assessment is specific activity, the internal quality assessment needs to construct documents for evaluating in every indicators, an evaluating result users were only the teachers and students in schools, and the educational quality assessment objectives was evaluated for receiving the certificate from ONESQA. 2. The results of misconceptions scores comparing between the schools in five groups had different in .05 significant level. The Office of the Municipal Schools have the highest scores, The Department of Education Bangkok Metropolitan Administration and The Office of the National Primary Education respectively.en
dc.format.extent5450204 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2004.396-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectประกันคุณภาพการศึกษาen
dc.subjectประกันคุณภาพการศึกษา--การประเมินen
dc.titleการวิเคราะห์มโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนและการปฏิบัติในการประเมินคุณภาพการศึกษาen
dc.title.alternativeAn analysis of misconceptions and practices in educational quality assessmenten
dc.typeThesisen
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineการวัดและประเมินผลการศึกษาen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSiridej.S@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2004.396-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Mahdee.pdf3.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.