Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45252
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนวณัฐ โอศิริ-
dc.contributor.authorอัจฉราวรรณ อุดมคำ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-09-12T07:10:25Z-
dc.date.available2015-09-12T07:10:25Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45252-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ภ.สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractเมืองอุบลราชธานีมีวัดเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของเมือง รวมทั้งวัดในโครงการ กราบพระ 9 วัด ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สำนักงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือเขต 2 ได้ระบุวัดในเขตเมืองอุบลราชธานี เพื่อประชาสัมพันธ์ให้มีการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น การศึกษานี้ได้ศึกษาถึงบทบาทที่สำคัญของวัดต่อชุมชนและเมือง และมีวัตถุประสงค์ในการจัดเส้นทางท่องเที่ยวและการปรับปรุงภูมิทัศน์เส้นทางท่องเที่ยว โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลทางกายภาพ และรูปแบบของการท่องเที่ยวในพื้นที่ การจัดเส้นทางท่องเที่ยวได้พิจารณาจาก 1. การสัญจรและการเข้าถึง (Circulation & Accessibility) 2. ระยะทาง (Distance) 3. สิ่งดึงดูดใจ (Attraction) 4. แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี 5. รูปแบบนักท่องเที่ยว (Type of User) 6. รูปแบบการเดินทางของนักท่องเที่ยว (Mode of transportation) และ 7. ภูมิทัศน์ถนน (Streetscape) โดยจัดเส้นทางท่องเที่ยว 5 รูปแบบตามรูปแบบการเดินทาง เพื่อสนองต่อความต้องการของนักท่องเที่ยว ได้แก่ 1. โดยรถยนต์ 2. โดยรถทัวร์ 3. โดยรถนำเที่ยว 4. โดยจักรยาน และ 5. โดยการเดินเท้า และมีการเชื่อมต่อระบบรถสาธารณะเพื่ออำนวยความสะดวกในการเดินทางท่องเที่ยวในพื้นที่ ผลการศึกษาได้เสนอแนวทางการปรับปรุงภูมิทัศน์ถนน โดยกำหนดรูปแบบภูมิทัศน์ถนนตามรูปแบบการเดินทางท่องเที่ยว แนวทางการออกแบบเส้นทางท่องเที่ยวจะช่วยส่งเสริมความสำคัญของวัด และสร้างเอกลักษณ์ของพื้นที่ท่องเที่ยวของเมืองอุบลราชธานีen_US
dc.description.abstractalternativeUbonrajathanee Municipal has many temples which are tourist attractions, including those in the The nine temples worship tourism program founded by the Tourism Authority of Thailand, Northeast Region 2. This study investigated the role of the temples associated with the community and the city. The purpose of the study is to develop and design a tourist route landscape by collecting physical data and information on forms of tourism in the area. Planning the route must take the following into consideration: 1. Circulation and Accessibility 2. Distance, 3. Attractions, 4. Historic and Archaeological attractions, 5. Type of User, 6. Mode of transportation and 7. Streetscape. This can be achieved by creating 5 routes to meet tourist demands such as: 1. Automobile Routes 2. Bus Routes 3. Tourist Tram Routes 4. Bicycle Routes and 5. Pedestrian Routes and connecting the public transportation system which facilitates the transportation needs of local people and visitors in the area. The study recommends that guidelines for streetscape improvement will depend on the form of tourism and appropriate tourist route design guidelines will promote the temples and the identity of tourist attractions in Ubonrajathanee municipal.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.788-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการออกแบบภูมิทัศน์en_US
dc.subjectวัด -- ไทย -- อุบลราชธานีen_US
dc.subjectอุบลราชธานี -- ภูมิประเทศและการท่องเที่ยวen_US
dc.subjectLandscape designen_US
dc.subjectBuddhist temples -- Thailand -- Ubon Ratchathanien_US
dc.subjectUbon Ratchathani -- Description and travelen_US
dc.titleการปรับปรุงภูมิทัศน์เส้นทางการท่องเที่ยว กราบพระ 9 วัด เทศบาลนครอุบลราชธานีen_US
dc.title.alternativeLandscape improvement on tourist route of nine temples in Ubonrajathanee Municipalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineภูมิสถาปัตยกรรมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorNavanath.O@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.788-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Acharawun_ud.pdf4.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.