Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45407
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนันทรัตน์ เจริญกุลen_US
dc.contributor.advisorพฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์en_US
dc.contributor.authorภัสยกร เลาสวัสดิกุลen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-17T04:01:41Z-
dc.date.available2015-09-17T04:01:41Z-
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45407-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารสถาบันอุดมศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองของนิสิตนักศึกษา 2) วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและภาวะคุกคามของการบริหารสถาบันอุดมศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองของนิสิตนักศึกษาและ 3) พัฒนากลยุทธ์การบริหารสถาบันอุดมศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองของนิสิตนักศึกษา โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน กลุ่มตัวอย่างแก่ สถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชน จำนวน 94 แห่ง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถามและแบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของกลยุทธ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนี PNIModified และการวิเคราะห์เนื้อหาจากการสนทนากลุ่ม ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันของการบริหารสถาบันอุดมศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองของนิสิตนักศึกษาในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางเมื่อพิจารณารายด้านพบว่าด้านมีความรอบรู้ในประชาธิปไตย มีค่าเฉลี่ยสภาพปัจจุบันสูงที่สุด (x= 3.041) สภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารสถาบันอุดมศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองของนิสิตนักศึกษา จากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับ (x= 4.445) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านมีความรอบรู้ในประชาธิปไตย มีค่าเฉลี่ยสภาพที่พึงประสงค์สูงที่สุด (x= 4.454) 2) จุดแข็งของการบริหารสถาบันอุดมศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองของนิสิตนักศึกษา คือ มีส่วนร่วมในประชาธิปไตย และมีความรอบรู้ในประชาธิปไตย ส่วนจุดอ่อน คือ มีทักษะทางประชาธิปไตย โอกาสของการบริหารสถาบันอุดมศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองของนิสิตนักศึกษา คือ สภาพเทคโนโลยี ส่วนภาวะคุกคาม คือนโยบายของรัฐ สภาพเศรษฐกิจ และสภาพสังคม 3) กลยุทธ์การบริหารสถาบันอุดมศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองของนิสิตนักศึกษา มี 3 กลยุทธ์หลัก คือ (1) ปฏิรูปการบริหารสถาบันอุดมศึกษาเพื่อสร้างทักษะทางประชาธิปไตยของนิสิตนักศึกษา (2) ปฏิรูปการบริหารสถาบันอุดมศึกษาเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในประชาธิปไตยของนิสิตนักศึกษา (3) ปฏิรูปการบริหารสถาบันอุดมศึกษาเพื่อสร้างความรอบรู้ในประชาธิปไตยของนิสิตนักศึกษาen_US
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were 1) to study the current and desirable states of management for developing citizenship of university students 2) to analyze strengths, weaknesses, opportunities and threats of management for developing citizenship of university students and 3) to develop management strategies for developing citizenship of university students. The study applied a mixed method approach. The sample population were 94 higher education institutions. The instruments used in this study were questionnaires and the strategic evaluation form to testify feasibility and appropriateness of the strategies. The data were analyzed by frequency, percentage, standard deviation, PNIModified and content analysis. The research results showed that 1) In general, the current state of management for developing citizenship of university students was performed at the middle level. While considering each aspect, democratic knowledge had the highest average ( x= 3.041). The desirable state of management for developing citizenship of university students was performed at a high level as a whole(x= 4.445). While considering each aspect, democratic knowledge had the highest average ( x= 4.454). 2) The strengths of management for developing citizenship of university students were democratic participation and democratic knowledge, while the weakness of management for developing citizenship of university students was democratic skills. The opportunity for management for developing citizenship of university students was technology. While the threats of management for developing citizenship of university students were the government policy, economy and society. 3) The management strategies for developing citizenship of university students comprised (1) reforming higher education institution management for developing democratic skills of university students (2) reforming higher education institution management for developing democratic participation of university students and(3) reforming higher education institution management for developing democratic knowledge of university students.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleกลยุทธ์การบริหารสถาบันอุดมศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองของนิสิตนักศึกษาen_US
dc.title.alternativeHIGHER EDUCATION INSTITUTION MANAGEMENT STRATEGIES FOR DEVELOPINGCITIZENSHIP OF UNIVERSITY STUDENTSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineบริหารการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorNuntarat.C@Chula.ac.th,Nuntarat.c@chula.ac.then_US
dc.email.advisorPruet.S@Chula.ac.then_US
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5384462827.pdf6.34 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.