Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45419
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทศพล ปิ่นแก้ว | en_US |
dc.contributor.author | ธนพล ถ้ำแก้ว | en_US |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2015-09-17T04:01:48Z | |
dc.date.available | 2015-09-17T04:01:48Z | |
dc.date.issued | 2557 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45419 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557 | en_US |
dc.description.abstract | ในอดีตกรุงเทพมหานครไม่มีกฎหมายบังคับให้ต้องออกแบบอาคารต้านทานแรงแผ่นดินไหว แต่จากข้อมูลทางธรณีวิทยาในปัจจุบันพบว่ามีความเป็นไปได้ที่จะเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงในบริเวณจังหวัดใกล้เคียง จึงเริ่มมีกฎหมายด้านแผ่นดินไหวใช้บังคับตั้งแต่ปี 2550 ทำให้เกิดความวิตกกังวลเกี่ยวกับความปลอดภัยของอาคารเก่า งานวิจัยนี้ศึกษาพฤติกรรมการสั่นไหว และความเสียหายในช่วงไร้เชิงเส้นของอาคารภายใต้แผ่นดินไหวรุนแรง โดยอาคารไม่ได้ถูกออกแบบต้านทานแรงแผ่นดินไหว เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพอาคารจริงที่ก่อสร้างก่อนกฎหมายแผ่นดินไหวเริ่มบังคับ การศึกษาพิจารณาอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กตัวอย่างสูง 4 ชั้นและ 10 ชั้น รวมทั้งพิจารณาผลของความไม่สม่ำเสมอของความสูงชั้น ใช้การวิเคราะห์โครงสร้างภายใต้แผ่นดินไหวแบบอินอีลาสติกเชิงเวลา (inelastic dynamic analysis) โดยการจําลองพฤติกรรมส่วนโครงสร้างหลังการครากในแบบจําลองคอมพิวเตอร์ ด้วยโปรแกรม Perform 3D ระดับความเสียหายที่เกิดขึ้นในโครงสร้างจะประเมินตามมาตรฐาน ASCE 41-13 การศึกษานี้จะสังเคราะห์คลื่นแผ่นดินไหวจำนวน 26 คลื่นเป็นตัวแทนคลื่นแผ่นดินไหวที่อาจเกิดในกรุงเทพมหานคร จากรอยเลื่อนเจดีย์ 3 องค์ในจังหวัดกาญจนบุรี การวิเคราะห์ไม่คำนึงถึงผลของผนังก่ออิฐ การเสื่อมถอยของสติฟเนสและกำลังของส่วนโครงสร้างเมื่อเกิดความเสียหาย ผลการวิเคราะห์ที่ได้นำไปสู่การอภิปรายพฤติกรรมความเสียหายของอาคาร และแนวโน้มความรุนแรงของระดับความเสียหายของอาคารที่อาจเกิดขึ้นจากเหตุการณ์แผ่นดินไหว | en_US |
dc.description.abstractalternative | In the past, there was no legal enforcement on seismic design of buildings in Bangkok area. However, recent seismic data indicates the possibility of having strong earthquakes in surrounding area and the seismic design regulation has been introduced since 2007. That induces the concern about safety of existing buildings under earthquakes. This research studies the vibration and damage characteristics of the buildings under strong earthquakes. The buildings are designed without earthquake loadings to represent the actual conditions of existing buildings. The examples of reinforced concrete buildings having 4- and 10-story are considered including consider the effect of elevation irregularity. The inelastic dynamic analysis is employed using Perform 3D analysis program. The seismic-induced damages are quantified according to ASCE 41-13 standards. About 26 earthquake ground motions are generated assuming their epicenters are along the Three Pagodas fault in Kanchanaburi. The effects of brick walls, stiffness degradation and strength deterioration of the building are not included. The obtained results indicate the seismic damage characteristics of the example buildings. Then the damage scenario of existing buildings in the city under strong earthquakes is discussed. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.910 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การออกแบบต้านทานแผ่นดินไหว -- ไทย -- กรุงเทพฯ | th |
dc.subject | อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก -- ไทย -- กรุงเทพฯ | th |
dc.subject | วิศวกรรมแผ่นดินไหว -- ไทย -- กรุงเทพฯ | th |
dc.subject | อาคาร -- สมรรถภาพ | th |
dc.subject | Earthquake resistant design -- Thailand -- Bangkok | en_US |
dc.subject | Buildings, Reinforced concrete -- Thailand -- Bangkok | en_US |
dc.subject | Earthquake engineering -- Thailand -- Bangkok | en_US |
dc.subject | Buildings -- Performance | en_US |
dc.title | สมรรถนะของโครงต้านแรงดัดคอนกรีตเสริมเหล็กไร้ความเหนียวภายใต้แผ่นดินไหวรุนแรง | en_US |
dc.title.alternative | PERFORMANCE OF NON-DUCTILE RC FRAMES UNDER STRONG EARTHQUAKES | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมโยธา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Tospol.P@chula.ac.th | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2014.910 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5470217121.pdf | 18.98 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.