Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45550
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพโรจน์ ลดาวิจิตรกุลen_US
dc.contributor.authorภาวรรณ ผิวแดงen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-17T04:03:05Z-
dc.date.available2015-09-17T04:03:05Z-
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45550-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractปัจจุบันแท็บเล็ตเป็นอุปกรณ์ที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย แม้กระทั่งในกลุ่มผู้ใช้ที่เป็นเด็ก แต่ยังไม่มีมาตรฐานการออกแบบทางอุตสาหกรรมที่คำนึงถึงความสามารถการใช้งานของผู้ใช้ โดยเฉพาะในส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Graphical User Interface, GUI) เช่น ขนาดสัญรูป (Icon) รูปภาพบนแท็บเล็ตที่เหมาะสมสำหรับเด็ก ทั้งนี้การสร้างมาตรฐานการออกแบบที่เกี่ยวกับ GUI ควรคำนึงถึงสมรรถนะการใช้แท็บเล็ตในเด็ก งานวิจัยนี้จึงได้ใช้แนวทางมาตรฐาน ISO 9241-9 ว่าด้วยเรื่องการประเมินสมรรถนะจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction, HCI) โดย่ในงานวิจัยนี้มีผู้เข้าร่วมการทดลองเป็นเด็กอายุ 7-12 ปี จำนวน 100 คน ทดลองใช้งานแท็บเล็ตด้วยงาน 2 ลักษณะ คืองานแตะตามแนวเส้นตรง (Linear Tapping Task) ตามแนวทางกฎของฟิตส์ และงานลากตามแนววงกลม (Circular Dragging Task) ตามแนวทางกฎของสเตียริง (Steering Law) โดยใช้วิธีนำเข้าข้อมูล 2 ประเภท คือ การใช้นิ้วมือ และการใช้ปากกาดิจิตอล ผลการวิเคราะห์ทางสถิติพบว่าปัจจัยอุปกรณ์นำเข้าข้อมูล และเพศ ไม่มีผลต่อค่าสมรรถนะที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 สำหรับงานแตะ แต่ปัจจัยด้านวิธีนำเข้าข้อมูลมีผลต่อค่าสมรรถนะสำหรับงานลากในเด็กอายุ 9-12 ปี อย่างมีนัยสำคัญ โดยการใช้ปากกาดิจิตอลให้ค่าสมรรถนะสูงกว่าการใช้นิ้วมือ นอกจากนี้ค่าสมรรถนะที่ได้สามารถนำไปเป็นค่ามาตรฐานเบื้องต้นของการใช้นิ้วมือ และปากกาดิจิตอลบนแท็บเล็ตสำหรับเด็ก โดยนำมาประยุกต์ใช้ในการออกแบบขนาด Icon บนหน้าจอแท็บเล็ตที่คำนึงถึงความสามารถการตอบสนองของเด็กen_US
dc.description.abstractalternativeAt present, tablet devices are used widely even among the children, but there is no design standard that takes into consider the user capacity especially the design of graphical user interface (GUI) for children , The design standards relating to the GUI take into consider the performance of the tablet use in children. Refers to ISO 9241-9, the evaluation of Human Computer Interaction performance. One hundred participants, aged 7–12 years old, joined in this study by using the tablet in two types of tasks. The linear tapping task based on the Fitts’ Law and circular dragging task based on the Steering Law with two types of input method (Finger and Digital Pen). Research results from full factorial statistical analyses were shown that the work performance for different input method using computer tablet of tapping task were not difference at 0.05 significant levels. But the factor of the input device affected to the work performance of dragging task for children in aged 9-12 years old at 0.05 significant levels. By operating with the digital pen using higher performance than finger using. In addition can be used the result to establish the standard performance of using fingers and a digital pen on the tablet and applies to design, Icon on screen tablet into consider the ability of children responsive.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการประเมินสมรรถนะของการใช้นิ้วมือและปากกาดิจิตอลด้วยแท็บเล็ตในเด็กประถมศึกษาตามแนวคิดกฎของฟิตส์และกฎของสเตียริงen_US
dc.title.alternativeTHE EVALUATION OF PERFORMANCE OF FINGER AND DIGITAL PEN USAGE ON TABLET IN PRIMARY SCHOOL STUDENTS ACCORDING TO FITTS' LAW AND STEERING LAWen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPhairoat.L@Chula.ac.th,Phairoat@hotmail.comen_US
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5570933921.pdf7.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.