Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45620
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวลัย อิศรางกูร ณ อยุธยาen_US
dc.contributor.authorรุ่งอรุณ ปิยะฤทธิ์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-17T04:03:41Z
dc.date.available2015-09-17T04:03:41Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45620
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของผู้เรียนระหว่างก่อนและหลังเรียนวิชาเพชรบุรีศึกษาโดยประยุกต์ใช้โมเดลเลิฟ และ 2. เพื่อเปรียบเทียบเจตคติต่อชุมชนท้องถิ่นของผู้เรียนระหว่างก่อนและหลังเรียนวิชาเพชรบุรีศึกษาโดยประยุกต์ใช้โมเดลเลิฟ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี ที่เรียนวิชาเพชรบุรีศึกษา ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 27 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ แบบวัดเจตคติต่อชุมชนท้องถิ่น และแบบสัมภาษณ์ โดยนำมาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติทดสอบที (t-test) และวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. การทดสอบคะแนนความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของกลุ่มตัวอย่างหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 2. การทดสอบคะแนนเจตคติต่อชุมชนท้องถิ่นของกลุ่มตัวอย่างหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5en_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were: 1. To compare the abilities of critical thinking of students before and after studying Phetchaburi studies subject by applying the Love Model. and 2. To compare students attitudes towards local community before and after studying Phetchaburi studies subject by applying the Love Model. The samples were 7th grade students at Phrommanusorn Phetchaburi School, totally 27 in first semester academic year B.E. 2557. The research instruments were critical thinking test, attitudes test towards local community, and interview form and the collected data were analyzed by mean, standard deviation, t-test, and content analysis. The results of the research were : 1. The posttest of critical thinking abilities of the students were higher than pretest. 2. The posttest attitude of students towards local community were higher than pretest.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1012-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความคิดอย่างมีวิจารณญาณ
dc.subjectทัศนคติ
dc.subjectการศึกษา -- หลักสูตร -- ไทย -- เพชรบุรี
dc.subjectCritical thinking
dc.subjectAttitude (Psychology)
dc.subjectEducation -- Curricula -- Thailand -- Phetchaburi
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้หลักสูตรท้องถิ่นโดยประยุกต์ใช้โมเดลเลิฟที่มีต่อความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและเจตคติต่อชุมชนท้องถิ่น: กรณีศึกษาวิชาเพชรบุรีศึกษาen_US
dc.title.alternativeEFFECT OF LEARNING MANAGEMENT OF LOCAL CURRICULUM BY APPLYING THE LOVE MODEL ON CRITICLE THINKING ABILITY AND ATTITUDE TOWARD LOCAL COMMUNITY: A CASE OF PHETCHABURI STUDIES SUBJECTen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการสอนสังคมศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorWalai.P@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1012-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5583342127.pdf3.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.