Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4581
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธราพงษ์ วิทิตศานต์-
dc.contributor.advisorสมศักดิ์ ดำรงค์เลิศ-
dc.contributor.authorจำลักษณ์ ศรีนาคเรือง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-10-31T04:27:42Z-
dc.date.available2007-10-31T04:27:42Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741314119-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4581-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractศึกษาความเป็นไปได้ของการอบแห้งเปลือกไม้ยูคาลิปตัส โดยใช้เทคนิคฟลูอิไดเซชัน โดยพิจารณาตัวแปรต่างๆ ที่มีผลต่ออัตราการอบแห้งคือ ความเร็วลม 2.32-3.85 m/s อุณหภูมิอากาศร้อน 80-100 ํC ความสูงของเบด 3.5-9.5 cm สำหรับการทดลองแบบกะ ส่วนการทดลองอบแห้งเปลือกไม้ยูคาลิปตัส โดยใช้เทคนิคฟลูอิไดเซชันแบบต่อเนื่องมีอัตราการไหลของวัตถุดิบ 0.125 กก. ต่อนาที ความสูงของเบด 10 ซม. ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของเปลือกไม้ 0.5 ซม. มีตัวแปรที่ศึกษาคือ ความเร็วลม 2.32-2.85 m/s อุณหภูมิอากาศร้อน 90-110 ํC จากนั้นจึงนำผลที่ได้ไปเปรียบเทียบกับแบบจำลองเพื่อใช้ทำนายอัตราการอบแห้ง จากการทดลองที่ความชื้นเริ่มต้น 55-60% โดยน้ำหนักเปียก เหลือความชื้นประมาณ 10% โดยน้ำหนักเปียก ซึ่งภาวะที่เหมาะสมของการอบแห้งแบบกะคือ ความสูงเบด 9.5 cm ความเร็วลม 2.32 m/s และอุณหภูมิ 80 ํC ส่วนภาวะที่เหมาะสมของการอบแห้งแบบต่อเนื่องคือ อุณหภูมิ 90 ํC ความเร็วลม 2.85 m/s เนื่องจากความชื้นสุดท้ายของผลิตภัณฑ์หลังการอบแห้งต่ำกว่า 10% โดยน้ำหนักเปียก ความสิ้นเปลืองพลังงานต่ำ ประสิทธิภาพสูงและอัตราการผลิตสูง จากแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของเครื่องอบแห้งที่ได้ นำมาใช้กับทดลองแบบกะและแบบต่อเนื่อง พบว่าสามารถทำนายอัตราการอบแห้งได้ดีกับการทดลองแบบต่อเนื่อง เนื่องจากให้ค่าใกล้เคียงกับทุกช่วงอุณหภูมิและทุกช่วงความเร็วลม ส่วนการทดลองแบบกะนั้น สามารถทำนายได้ดีพอสมควร กล่าวคือในช่วงเวลาการอบแห้งที่ความสูงของเบดต่ำๆ สามารถทำนายความชื้นได้ใกล้เคียงกับการทดลองแต่ไม่สามารถใช้ได้กับที่ความสูงเบด 9.5 cm เนื่องจากพื้นที่สัมผัสระหว่างตัวกกลางไม่คงที่เกิดฟองแก๊สมากen
dc.description.abstractalternativeTo study a drying of Eucalyptus shell by using fluidized bed. The variables such as temperature range of 80-100 ํC, hot air velocities 2.32-3.85 m/s and height of bed of 3.5-9.5 cm. in batch process whereas temperature range of 90-110 ํC and hot air velocities of 2.32-2.85 m/s in continuous process were investigated. The initial moisture content about 55-60% by weight being decreased to 10% by weight was criteria for determination the optimum condition. Experimental results for the optimum condition in batch process was 9.5 cm of height of bed, 2.32 m/s of hot air velocity and 80 ํC of bed temperature, while the optimum condition in continous process was 90 ํC of bed temperature and 2.85 m/s hot air velocity. These optimum conditions give high energy efficiency and obtain 10% moisture content of shell. Mathematical model shows the prediction very well in both batch and continuous process for all experiments at low height of bed, except the height of bed at 9.5 cm in batch process having large deviationbecause of not being uniform contact between hot air and raw material.en
dc.format.extent6592872 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการอบแห้งen
dc.subjectยูคาลิปตัสen
dc.subjectฟลูอิไดเซชันen
dc.titleการอบแห้งเปลือกไม้ยูคาลิปตัสในฟลูอิไดซ์เบดแบบต่อเนื่องen
dc.title.alternativeDrying of eucalyptus bark in continuous fluidized beden
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisortharapong.v@chula.ac.th-
dc.email.advisorDsomsak@sc.chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jumluck.pdf6.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.