Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45836
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพงศา พรชัยวิเศษกุลen_US
dc.contributor.authorชินพัฒน์ เงินส่งเสริมen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัยen_US
dc.date.accessioned2015-09-17T04:05:34Z
dc.date.available2015-09-17T04:05:34Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45836
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการจัดสรรโควตาเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ให้กับร้านช่องทางต่างๆทั่วประเทศ เพื่อหาแนวทางการจัดสรรโควตาให้เกิดความเหมาะสม และมีประสิทธิภาพสูงที่สุด โดยศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับร้านช่องทาง เช่น ขนาดของร้าน จำนวนเครื่องทดลองใช้ ทำเลที่ตั้ง ยอดขาย และประสบการณ์ของบริษัทที่บริหารร้าน รวมถึงปัจจัยที่แวดล้อม เช่น รายได้ของประชากร ค่าใช้จ่ายของประชากร ภาระหนี้สินของประชากร จำนวนอุปกรณ์เทคโนโลยีและสารสนเทศของครัวเรือน การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตของครัวเรือน จำนวนประชากรที่มีโทรศัพท์มือถือ จำนวนประชากรที่ใช้อินเตอร์เน็ต ประชากรที่เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบ 2G และประชากรที่เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบ 3G งานวิจัยได้เก็บข้อมูลการสั่งซื้อจากร้านช่องทางระหว่างเดือนมกราคม ถึง กรกฎาคม 2557 ประกอบกับข้อมูลรายได้และรายจ่ายของครัวเรือน พ.ศ. 2556 และรายงานการสำรวจการใช้การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2555 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ มาศึกษาด้วยแบบจำลองโทบิท (Tobit model) ผลการศึกษาพบว่า จำนวนเครื่องทดลองใช้ ทำเลที่ตั้ง ประสบการณ์ของบริษัทที่บริหารร้าน ยอดขาย รายได้ของประชากร ค่าใช้จ่ายของประชากร ภาระหนี้สินของประชากร และจำนวนอุปกรณ์เทคโนโลยีและสารสนเทศของครัวเรือน มีผลกระทบต่อการจัดสรรโควตา ซึ่งผลกระทบของแต่ละปัจจัยสัมพันธ์ในทิศทางบวกหรือลบขึ้นอยู่กับแบรนด์ และระดับราคาen_US
dc.description.abstractalternativeThe research aims to study factors that influence the allocation of mobile phone to retail stores across the country in order to identify the best and most effective approach. The considered factors related to the store’s characteristic include size, number of live demo units, location, sale volume, and the experience level of the retail company that manage it. The factors related to the population include income, expenditure, debt, number of telecommunication technology in household, total number of mobile phone users, total number of internet users, number of 2G and 3G system users. Tobit model is used to study data from three sources (1) records of quota order made by retail stores between January to July 2014, (2) income and expenditure of population and household report in 2013 by the National Statistics Office, and (3) information and communication technology survey in household in 2012 also by the National Statistics Office. The main finding is that the amount of live demo units in each store, the location, the past sale volume, the experience level of the retail company running the store, as well as income, expenditure, debt and number of telecommunication devices already owned by household are the factors that correlate with the allocation of mobile phone quota to retail stores across the country. However, the level of influence and the positive/negative direction of each factor are varied, depending on the brand and the price level of devices.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.627-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโทบิทส์
dc.subjectการกำหนดย่านความถี่วิทยุ
dc.subjectสมาร์ทโฟน
dc.subjectระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่
dc.subjectTobits
dc.subjectRadio frequency allocation
dc.subjectSmartphones
dc.subjectCell phone systems
dc.titleการศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการจัดสรรโทรศัพท์เคลื่อนที่ด้วยแบบจำลองโทบิท (Tobit Model) กรณีศึกษา ช่องทางการจัดจำหน่ายร้าน xxxen_US
dc.title.alternativeSTUDY FACTORS THAT INFLUENCE THE ALLOCATION OF DEVICE QUOTA USING TOBIT MODEL : A CASE STUDY OF MOBILE PHONE RETAIL SHOP XXXen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการจัดการด้านโลจิสติกส์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorpongsa.p@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.627-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5687113620.pdf5.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.