Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45872
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Suchana Chavanich | en_US |
dc.contributor.advisor | Makoto Omori | en_US |
dc.contributor.author | Pataporn Kuanui | en_US |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Science | en_US |
dc.date.accessioned | 2015-09-18T04:20:11Z | - |
dc.date.available | 2015-09-18T04:20:11Z | - |
dc.date.issued | 2014 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45872 | - |
dc.description | Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2014 | en_US |
dc.description.abstract | In 2010, the hard coral mortality ranged between 32% to 78.8% of populations and other reef organisms, including sea anemones and giant clams were also affected by the bleaching at Samae san Island, Chon Buri Province, Thailand. After the bleaching events, there was an attempt to rehabilitate coral reefs in certain areas. In this study, the influence of physical factors (temperature, salinity, light intensity, and photoperiod) and food factors (capture rates, digestibility, feeding preferences, and feeding efficiency) on growth, survival, and photosynthetic efficiency of four coral species (staghorn corals, Acropora millepora and Acropora nobilis; cauliflower coral, Pocillopora damicornis; and brain coral, Platygyra sinensis) were used as an experimented corals. All corals used in the experiment were cultivated via sexual propagation. The results showed that temperature significantly affected growth, survival, and photosynthetic efficiency (p < 0.05) compared to salinity. For the light intensity experiment, P. sinensis seemed to have more tolerance to wider ranges of light intensities and photoperiods than other coral species. When feeding preference experiments of corals were conducted, the results showed that the capture rates on Artemia salina nauplii of corals ranged between 0.44 to 2.39 individuals per polyp and 2 hours to 2.5 hours to complete the prey digestion. Moreover, the feeding preferences and feeding efficiency showed that the protein concentrations were higher in A. millepora fed on Artemia salina. In conclusion, both physical (temperature, salinity, light intensity, and photoperiod) and food factors can have an influence on growth, survival, and photosynthetic rates of corals. The results of this study can be used for achievement of coral culturing technique for restoration of coral reefs | en_US |
dc.description.abstractalternative | ในปี 2010 เกิดปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวบริเวณหมู่เกาะแสมสาร จังหวัดชลบุรี ประเทศไทย ส่งผลให้ปะการังตายร้อยละ 32-78.8 ของประชากรทั้งหมด และส่งผลให้เกิดการฟอกขาวในดอกไม้ทะเลและหอยมือเสือ ภายหลังการเกิดเหตุการณ์นี้ ทำให้มีความพยายามในการฟื้นฟูแนวปะการังที่ได้รับผลกระทบ โดยในการศึกษาครั้งนี้ ทำการศึกษาปัจจัยทางกายภาพ (อุณหภูมิ ความเค็ม ความเข้มแสง และระยะเวลาในการได้รับแสง) และอาหาร (อัตราการจับอาหาร อัตราการย่อย ชนิดอาหารที่เลือกกิน และประสิทธิภาพของอาหาร) ที่มีผลต่อการเติบโต อัตรารอดของปะการัง และประสิทธิภาพในการสังเคราะห์แสงของสาหร่ายซูแซนเทลลี่โดยดูจากคลอโรฟิลด์ฟลูออเรสเซ้นต์ในเนื้อเยื่อของปะการังทั้ง 4 ชนิด คือ ปะการังเขากวาง Acropora millepora และ Acropora nobilis ปะการังดอกกะหล่ำ Pocillopora damicornis และปะการังสมองร่องยาว Platygyra sinensis ซึ่งเป็นปะการังที่ได้มาจากการเพาะขยายพันธุ์แบบอาศัยเพศ โดยผลการศึกษาพบว่า อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงมีผลกระทบต่อปะการังทั้งอัตราการเติบโต อัตรารอด และประสิทธิภาพในการสังเคราะห์แสงของสาหร่ายซูแซนเทลลี่อย่างมีนัยสำคัญ (p < 0.05) เมื่อเทียบกับการเปลี่ยนแปลงของความเค็ม สำหรับการทดลองเรื่องแสง พบว่าปะการังสมองร่องยาว Platygyra sinensis สามารถทนต่อความเข้มแสงและระยะเวลาในการได้รับแสงในช่วงกว้างได้ดีกว่าปะการังชนิดอื่นๆ สำหรับการทดลองเรื่องการให้อาหารปะการัง พบว่าอัตราการจับอาร์ทีเมียของปะการังอยู่ระหว่าง 0.44-2.39 ตัวต่อโพลิปและสามารถย่อยอาร์ทีเมียจนหมดภายใน 2-2.5 ชั่วโมง นอกจากนี้ การเลือกกินอาหารและประสิทธิภาพของอาหารปะการัง พบว่าปะการังเขากวาง A. millepora ที่ให้กินอาร์ทีเมีย มีปริมาณโปรตีนในเนื้อเยื่อปะการังมากที่สุด สรุป ปัจจัยทางกายภาพ (อุณหภูมิ ความเค็ม ความเข้มแสง และระยะเวลาในการได้รับแสง) และอาหารล้วนมีผลต่อการเติบโต อัตรารอดของปะการัง และประสิทธิภาพในการสังเคราะห์แสงของสาหร่ายซูแซนเทลลี่ ซึ่งผลการศึกษาในครั้งนี้ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการเพาะขยายพันธุ์ปะการังในโรงเพาะเลี้ยง หรือการฟื้นฟูแนวปะการัง | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en_US |
dc.rights | Chulalongkorn University | en_US |
dc.title | FACTORS INFLUENCING GROWTHS OF CULTURED JUVENILE CORALS IN A NURSERY SYSTEM | en_US |
dc.title.alternative | ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเติบโตของปะการังวัยอ่อนเลี้ยงในระบบอนุบาลปะการัง | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | Doctor of Philosophy | en_US |
dc.degree.level | Doctoral Degree | en_US |
dc.degree.discipline | Marine Science | en_US |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en_US |
dc.email.advisor | suchana.c@chula.ac.th,suchana.c@chula.ac.th | en_US |
dc.email.advisor | makomori@amsl.or.jp | en_US |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5273884023.pdf | 4.88 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.