Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46021
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงกมล ชาติประเสริฐen_US
dc.contributor.authorวิโรจน์ สุทธิสีมาen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-18T04:21:32Z
dc.date.available2015-09-18T04:21:32Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46021
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ คือทำการสำรวจความหมายของการวิ่งในสื่อของไทยจากอดีตจนถึงปัจจุบัน และทำการวิเคราะห์หาลักษณะของวาทกรรมที่ส่งเสริมให้เกิดความตื่นตัวในการวิ่งออกกำลังกายในสังคมไทย โดยการศึกษาครั้งนี้ ประกอบไปด้วยการวิเคราะห์ระยะยาวและการวิเคราะห์ตัดขวาง ผู้วิจัยได้ใช้แนวคิดการวิเคราะห์วาทกรรม ของ Michel Foucault และการวิเคราะห์วาทกรรมวิพากษ์ ของ Norman Fairclough ร่วมด้วยแนวคิดกระบวนการสร้างอารยธรรมของ Norbert Elias จากการศึกษาในสื่อ 4 ประเภท อันได้แก่ 1) สื่อสิ่งพิมพ์ 2) สื่อภาพยนตร์ 3) สื่อใหม่ (สื่อออนไลน์) และ 4) สื่อกิจกรรม พบว่า การวิ่งในสังคมไทยสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ยุค อันได้แก่ 1) ยุคโบราณ 2) ยุคเปลี่ยนผ่าน และ 3) ยุคปัจจุบัน โดยการเปลี่ยนผ่านของทั้ง 3 ยุคเป็นผลสืบเนื่องจากกระบวนการสร้างอารยธรรมในแต่ละยุค ซึ่งสัมพันธ์กับวาทกรรม อำนาจ และความรู้ที่ครอบงำสังคมไทย โดยในยุคโบราณตั้งแต่อดีตจนถึงก่อน พ.ศ. 2500 การวิ่งไม่มีความหมายใดในสังคมไทยเป็นพิเศษ นอกเหนือจากการเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็ว กระทั่งเมื่อถึงคราวเปลี่ยนผ่านในช่วง พ.ศ. 2500 แนวคิดด้านวิทยาศาสตร์และการแพทย์ดังทำให้การวิ่งถูกสร้างความหมายในเชิงสุขภาพและมีลักษณะการอธิบายที่เป็นวิทยาศาสตร์และเหตุผล จนเมื่อถึงช่วงพ.ศ. 2555 การวิ่งถูกสร้างความหมายอย่างผสมผสาน ซึ่งได้รับแรงผลักดันจากอำนาจในสังคมที่กระจายตัวเนื่องจากเข้ามาของสื่อใหม่ และการเพิ่มบทบาทของคนวัยหนุ่มสาวและผู้หญิงในทางสื่อมวลชน ซึ่งได้ผลิตและบริโภควาทกรรมที่หลากหลายโดยเฉพาะมิติทางอารมณ์และความรู้สึก อันทำให้การวิ่งออกกำลังกายกลับมาเป็นที่นิยมในสังคมไทยอีกครั้งen_US
dc.description.abstractalternativeObjective of this research project is to examine discourses of running in Thai media from the past to present as well as to analyze the character of discourse that support the trend of running as a popular exercise in Thai society nowadays. Using a cultural studies theory and a qualitative research methodology, two approaches are conducted by analyzing historical documents and investigating cross-sectional media texts. The project draws on Foucault’s concept of discourse and power, Fairclough’s critical discourse analysis approach and Elias’ concept of Civilizing Process. These concepts explore the meaning of running which separated by discursive practice and social practice in each era of Thai running society. From four categories of chosen media: Print Media, Films, New Media, and Activity Media, there were three ages of Running Discourses, namely: 1) Ancient age: General Discourse 2) Middle age: Scientific Discourse and 3) New age: Emotional Discourse. The Transformation from age to age was an outcome of Civilizing Process which relate to discourse, power and knowledge in each society. The Ancient age dominated society until late 1950s and running only means a manner of moving faster than walk in this period. The next age was established by the concept of scientific knowledge to produce a meaning in health with supported by reason using such as statistics and concrete knowledge. Until 2012, Running is yet again built by mixed concepts which influenced by dispersed power. A new media and the rising of new generation, especially women, added a variety of meaning in running which introduced emotional discourse to the new perception, resulted in ‘The New Running Boom’.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.728-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectวจนะวิเคราะห์เชิงวิพากษ์
dc.subjectการวิ่ง
dc.subjectการสื่อสาร -- แง่สังคม -- ไทย
dc.subjectการสื่อสารกับวัฒนธรรม -- ไทย
dc.subjectCritical discourse analysis
dc.subjectRunning
dc.subjectCommunication -- Social aspects -- Thailand
dc.subjectCommunication and culture -- Thailand
dc.titleการสื่อสารกับวาทกรรมการวิ่งในสังคมไทยen_US
dc.title.alternativeCOMMUNICATION AND DISCOURSES OF RUNNING IN THAI SOCIETYen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorDuangkamol.C@Chula.ac.th,joy.chartprasert@gmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.728-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5485105028.pdf9.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.