Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46290
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสราวุธ อนันตชาติen_US
dc.contributor.authorณิชชา โชคพิทักษ์กุลen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-18T04:23:47Z-
dc.date.available2015-09-18T04:23:47Z-
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46290-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณที่ใช้วิธีวิจัยเชิงสำรวจ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับคุณค่าตราสินค้าของผู้บริโภคในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่ถูกสะท้อนผ่านมาตรวัดคุณค่าตราสินค้าของวิสาหกิจประเภทดังกล่าว อันประกอบด้วย ความรู้เกี่ยวกับตราสินค้า และการรับรู้คุณภาพความสัมพันธ์กับตราสินค้า และ (2) ความสัมพันธ์ระหว่างระดับคุณค่าตราสินค้าของผู้บริโภคในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม กับปัจจัยการตอบสนองของผู้บริโภค ซึ่งได้แก่ ความชื่นชอบตราสินค้ามากกว่า ความภักดีต่อตราสินค้า และการแนะนำบอกต่อ โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพศชายและหญิง อายุ 18-40 ปี จำนวน 400 คน ที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร รวมถึงเคยใช้บริการร้านอาหารหวานและเครื่องดื่มทั้ง 2 ร้าน ได้แก่ After You และ Cookies Crust ซึ่งเป็นตราสินค้าที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ อย่างน้อย 1 ครั้ง ภายในเวลา 1 ปี ผลการวิจัยพบว่า ระดับคุณค่าตราสินค้าของผู้บริโภคในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของแต่ละตราสินค้ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดย After You มีระดับคุณค่าตราสินค้าของผู้บริโภคสูงกว่า Cookies Crust และคุณค่าตราสินค้าของผู้บริโภคในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของ After You และ Cookies Crust มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับปัจจัยการตอบสนองของผู้บริโภคทั้ง 3 ปัจจัย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในระดับที่สูงกว่าความสัมพันธ์กับทุกปัจจัยเดียวกันของตราสินค้าอื่นen_US
dc.description.abstractalternativeThis survey research had two objectives: (1) to measure consumer-based brand equity in small and medium enterprises (SME) based on brand knowledge and perception of brand relationship quality, and (2) to examine the relationship between SME brand equity and three consumer response factors which include brand preference, brand loyalty, and word of mouth. Self-administered questionnaires were used to collect data from 400 male and female respondents aged 18 to 40 years who live in Bangkok and have been to two dessert cafes called After You and Cookies Crust, which were the brands selected for this study, at least once in the last 12 months. The findings of the present study showed that After You scored higher than Cookies Crust on the consumer-based brand equity scale. As empirically tested, each brand's equity score differed significantly from others. Moreover, the After You and Cookies Crust's brand equity scores were positively correlated with all consumer response factors of their own brands at a higher level than when being correlated with the same factors of the other brands.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการวัดคุณค่าตราสินค้าของผู้บริโภคในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมen_US
dc.title.alternativeMEASURING CONSUMER-BASED BRAND EQUITY IN SMALL AND MEDIUM ENTERPRISESen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSaravudh.A@Chula.ac.th,Saravudh.A@Chula.ac.then_US
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5684657128.pdf5.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.