Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46423
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนากร วาสนาเพียรพงศ์en_US
dc.contributor.advisorกานต์ เสรีวัลย์สถิตย์en_US
dc.contributor.authorเอกรินทร์ สุบุญen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-19T03:38:58Z
dc.date.available2015-09-19T03:38:58Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46423
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ได้ศึกษาเกี่ยวกับผลของการเติมสารตัวเติมลิเทียมอะลูมิเนตต่อสมบัติการเผาผนึกของแมกนีเซียมอะลูมิเนตสปิเนล โดยใช้ผงแมกนีเซียมอะลูมิเนตสปิเนลทางการค้าจาก 2 บริษัท คือ S30CR และ TSP-15 ผสมกับสารตัวเติมลิเทียมอะลูมิเนตในอัตราส่วนร้อย 0, 1, 5 และ 10 โดยมวล ชิ้นงานดิบจะนำไปอัดขึ้นรูปเป็นเม็ดกลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 20 มิลลิเมตร ด้วยเครื่องอัดทิศทางเดียว ความดัน 50 เมกะพาสคัล เพื่อเปรียบเทียบผลของการเผาผนึกในอากาศในช่วงอุภหภูมิ 1100-1600 องศาเซลเซียส 2 ชั่วโมง และการเผาผนึกด้วยเทคนิคต่างๆ ได้แก่ การอัดร้อนที่ 1600-1700 องศาเซลเซียส ด้วยความดัน 40 เมกะพาสคัล การเผาผนึกในอากาศตามด้วยการอัดร้อนทุกทิศทางที่ 1500 องศาเซลเซียส 2 ชั่วโมง ด้วยความดัน 200 เมกะพาสคัล พบว่าการเผาผนึกในอากาศที่อุณหภูมิ 1600 องศาเซลเซียส 2 ชั่วโมง ชิ้นงานจากผงตัวอย่างทั้งสองมีความหนาแน่นมากที่สุด โดยมีค่าความหนาแน่นสัมพัทธ์มากกว่าร้อยละ 98 การเติมสารตัวเติมละเทียมอะลูมิเนตร้อยละ 1 โดยมวล สามารถเพิ่มความหนาแน่นได้อย่างมากในช่วงอุณหภูมิ 1200-1400 องศาเซลเซียส และเพิ่มขึ้นเล็กน้อยที่อุณหภูมิ 1600 องศาเซลเซียส การอัดร้อนที่ 1700 องศาเซลเซียสชิ้นงานจากผงตัวอย่าง S30CR มีความโปร่งแสงมากกว่า TSP-15 การเติมสารตัวเติมลิเทียมอะลูมิเนตทำให้เกรนมีขนาดใหญ่ขึ้นถึง 54.8 ไมครอน และ 60.3 ไมครอน ตามลำดับ การเผาผนึกในอากาศตามด้วยการอัดร้อนทุกทิศทางที่ 1500 องศาเซลเซียส 2 ชั่วโมง ชิ้นงานยังคงทึบแสงและมีขนาดเกรนใกล้เคียงกันอยู่ในช่วง 4.6-6.3 ไมครอน สำหรับการส่องผ่านของแสงของชิ้นงานจากผงตัวอย่างทั้งสองยังมีค่าต่ำมากเนื่องจากเกิดการกระเจิงแสงจากรูพรุนขนาดเล็ก ๆ ที่พบในชิ้นงานen_US
dc.description.abstractalternativeIn this work, effects of Li5AlO4 addition on sinterability of MgAl2O4 spinel were investigated. Two-difference MgAl2O4 spinel powders (S30CR and TSP-15) were homogeneously added into an aquatic solutions of Li5AlO4. The concentration of Li5AlO4 focused in this work were fix at 0, 1, 5 and 10 wt%. Green samples were pressed into pellet under 50 MPa . Then sintered by different process. Such as sintering in air at 1100-1600oC, hot-pressing at 1600-1700oC and sintering in air at 1600oC following by hot-isostatic pressing at 1500oC for 2 h under 200 MPa. The results showed the obtained green samples were sintered in air at 1600oC for 2 h had fine grain with high relative density over 98%. Using 1wt% of Li5AlO4 additions increased grain size and relative density of both samples. At 1600oC had similar reletivedensity. S30CR sample turned into translucent by Hot-pressed process at 1700oC under 40 MPa. On the other hand, TSP-15 sample still opague. Sintered in air following by hot-isostatic pressed with Li5AlO4 doped highly increased grain size of both samples up to 54.81-60.26 micron. There was no improvement founded in hot-isostatic pressed process. Both samples still milky white and had nearly grain size about 4-6 micron. The light transmittance of both S30CR and TSP-15 sintered samples were low because of light scattering.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1222-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเครื่องเคลือบดินเผา
dc.subjectเครื่องเคลือบดินเผา -- สารเติมแต่ง
dc.subjectวัสดุเซรามิก
dc.subjectเซรามิกโปร่งใส
dc.subjectCeramics
dc.subjectCeramics -- Additives
dc.subjectCeramic materials
dc.subjectTransparent ceramics
dc.titleผลของลิเทียมอะลูมิเนตต่อการเผาผนึกเซรามิกแมกนีเซียมอะลูมิเนตสปิเนลen_US
dc.title.alternativeEFFECTS OF LITHIUM ALUMINATE ON SINTERING OF MAGNESIUM ALUMINATE SPINEL CERAMICen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีเซรามิกen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorthanakorn.w@chula.ac.then_US
dc.email.advisorKarn.S@Chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1222-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5472168423.pdf6.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.