Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46467
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสกลรัชต์ แก้วดีen_US
dc.contributor.authorกนกกาญจน์ ชำนาญen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-19T03:39:35Z
dc.date.available2015-09-19T03:39:35Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46467
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความสามารถในการวิเคราะห์ระหว่างนักเรียนกลุ่มทดลองที่เรียนด้วยการจัดการเรียนการสอนตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคมกับนักเรียนกลุ่มควบคุมที่เรียนด้วยการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์แบบทั่วไป 2) เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความสามารถในการใช้ความรู้วิทยาศาสตร์ระหว่างนักเรียนกลุ่มทดลองกับนักเรียนกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนขนาดใหญ่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 37 จังหวัดน่าน ที่ศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 2 ห้องเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ แบบวัดความสามารถในการวิเคราะห์และแบบวัดความสามารถในการใช้ความรู้วิทยาศาสตร์ และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ยร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบไค-สแควร์ และสถิติทดสอบที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) นักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนการสอนตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคมส่วนใหญ่ จำนวนร้อยละ 38 มีความสามารถในการวิเคราะห์อยู่ในระดับพอใช้ เมื่อเทียบกับเกณฑ์คะแนนมาตรฐานที 2) นักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนการสอนตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม ได้คะแนนเฉลี่ยความสามารถในการวิเคราะห์สูงกว่ากลุ่มที่เรียนด้วยการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์แบบทั่วไป อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 3) นักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนการสอนตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม มีความสามารถในการใช้ความรู้วิทยาศาสตร์ต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนดร้อยละ 70 4) นักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนการสอนตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม ได้คะแนนเฉลี่ยความสามารถในการใช้ความรู้วิทยาศาสตร์สูงกว่านักเรียนที่เรียนด้วยการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์แบบทั่วไป อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThis study was a quasi-experimental research. The purposes of the study were to 1) study and compare the abilities in analyzing of students between an experimental group that learned through science, technology, and society instruction and a control group that learned through a traditional instruction method 2) study and compare the abilities in using scientific knowledge between the experimental group and the control group. The samples were two classes of eighth grade students in a large size school during the second semester of academic year 2014. The research instruments were the test on abilities in analyzing and the test on abilities in using scientific knowledge. The collected data was analyzed by arithmetic mean, mean of percentage, standard deviation, chi-square test and t-test. The research findings were summarized as follows: 1) The abilities in analyzing of almost science, technology, and society instruction group students were at 38 percent in moderate level. 2) Science, technology, and society instruction group students had mean score of the test on abilities in analyzing higher than the traditional instruction group students at .05 level of significance. 3) Science, technology, and society instruction group students had mean score of the abilities in using scientific knowledge was lower than the criterion score set at 70 percent. 4) The abilities in using scientific knowledge of science, technology, and society instruction group students higher than the traditional instruction group students at .05 level of significance.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1251-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
dc.subjectความสามารถทางวิทยาศาสตร์
dc.subjectScience -- Study and teaching (Secondary)
dc.subjectScientific ability
dc.titleผลของการจัดการเรียนการสอนตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม ที่มีต่อความสามารถในการวิเคราะห์และการใช้ความรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดน่านen_US
dc.title.alternativeEFFECTS OF SCIENCE, TECHNOLOGY, AND SOCIETY INSTRUCTION ON ABILITIES IN ANALYZING AND USING SCIENTIFIC KNOWLEDGE OF LOWER SECONDARY SCHOOL STUDENTS, NAN PROVINCEen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการศึกษาวิทยาศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorWatcharaporn.K@Chula.ac.th,Sakolrat.K@chula.ac.th,watcharapornkwd@gmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1251-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5483303627.pdf4.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.