Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46469
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรวรรณ เหมชะญาติen_US
dc.contributor.authorจุติพร ทองคำชูen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-19T03:39:36Z
dc.date.available2015-09-19T03:39:36Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46469
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาผลของการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์โดยใช้ศิลปะแบบบูรณาการที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กอนุบาลใน 4 ด้าน ได้แก่ ทักษะการสังเกต ทักษะการจำแนก ทักษะการวัด และทักษะการสื่อความหมาย และ 2) เพื่อเปรียบเทียบผลของการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์โดยใช้ศิลปะแบบบูรณาการกับการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์แบบปกติที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กอนุบาล ตัวอย่างประชากรคือ เด็กอนุบาล ปีการศึกษา 2557 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลาเขต 1 จำนวน 38 คน โดยแบ่งเป็นโรงเรียนวัดเกาะถ้ำจำนวน 19 คน เป็นกลุ่มทดลอง และโรงเรียนชุมชนบ้านด่าน จำนวน 19 คน กลุ่มควบคุม ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย 12 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กอนุบาล วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า 1) หลังการทดลอง เด็กอนุบาลที่ได้รับการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์โดยใช้ศิลปะแบบบูรณาการมีค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทุกด้านสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2) หลังการทดลอง เด็กอนุบาลที่ได้รับการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์โดยใช้ศิลปะแบบบูรณาการมีค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทุกด้านสูงกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กอนุบาลที่ได้รับการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01en_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to 1) study effects of organizing science experiences using arts integration on science process skills of kindergarteners in 4 aspects: observation, classification, measurement, and communication, and 2) compare the effects of organizing science experiences using arts integration on science process skills between experimental group and control group. The samples were 38 kindergarteners at the age of five to six years in academic year 2014 from schools under the Songkhla Primary Educational Service Area Office 1. The samples were divided into two groups; 19 children for the experimental group from the Watkohtam school and 19 children for the control group from the Chumchon Ban Dan school. The experimental group recieved the organizing science experiences using arts integration; whereas the control group recieved the conventional organizing science experiences. The research duration was 12 weeks. The data collection was through the science process skills of kindergarteners test. The data was statistically analyzed by using arithmetic mean, standard deviation, and t-test. The research findings were as follows: 1) After the experiment, the experimental group had the mean scores of the science process skills higher than those of before at.01 level of significance. 2) After the experiment, the experimental group had mean scores of the science process skills higher than those of control group at.01 level of significance.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1253-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
dc.subjectเด็กวัยก่อนเข้าเรียน
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน
dc.subjectศิลปะกับเด็ก
dc.subjectพัฒนาการของเด็ก
dc.subjectScience process skills
dc.subjectPreschool children
dc.subjectScience -- Study and teaching
dc.subjectArts and children
dc.subjectChild development
dc.titleผลของการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์โดยใช้ศิลปะแบบบูรณาการที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กอนุบาลen_US
dc.title.alternativeEFFECTS OF ORGANIZING SCIENCE EXPERIENCES BY USING ARTS INTEGRATION ON SCIENCE PROCESS SKILLS OF KINDERGARTENERSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการศึกษาปฐมวัยen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorworawan.h@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1253-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5483321927.pdf4.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.