Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46471
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรวรรณ เหมชะญาติen_US
dc.contributor.authorดวงพร สัตนันท์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-19T03:39:37Z
dc.date.available2015-09-19T03:39:37Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46471
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาผลของการจัดประสบการณ์ทางภาษาโดยใช้ศิลปะแบบบูรณาการที่มีต่อความสามารถในการพูดเล่าเรื่องของเด็กอนุบาลในด้านฉากของเรื่อง การลำดับเหตุการณ์ ปัญหาของเรื่อง และตอนจบของเรื่อง 2) เพื่อเปรียบเทียบผลของการจัดประสบการณ์ทางภาษาโดยใช้ศิลปะแบบบูรณาการและการจัดประสบการณ์ทางภาษาแบบปกติที่มีต่อความสามารถในการพูดเล่าเรื่องของเด็กอนุบาล ตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ เด็กชั้นอนุบาลปีที่ 2 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนอนุบาลศูนย์ปฐมวัยต้นแบบ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 จำนวน 60 คน โดยแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง จำนวน 30 คน และกลุ่มควบคุม จำนวน 30 คน ระยะเวลาในการวิจัย 12 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบวัดความสามารถในการพูดเล่าเรื่องของเด็กอนุบาล วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1. หลังการทดลอง เด็กกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนความสามารถในการพูดเล่าเรื่องด้านฉากของเรื่อง การลำดับเหตุการณ์ ปัญหาของเรื่อง และตอนจบของเรื่องสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. หลังการทดลอง เด็กกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนความสามารถในการพูดเล่าเรื่องด้านฉากของเรื่อง การลำดับเหตุการณ์ ปัญหาของเรื่อง และตอนจบของเรื่อง สูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01en_US
dc.description.abstractalternativeThe proposes of the research were to 1) study effects of organizing experiences in language arts using arts integration on narrative ability of kindergarteners in 4 aspects: settings, sequences, initiating events and conclusion 2) compare the effects of organizing experiences in language arts using arts integration on narrative ability between experimental group and control group The samples were 60 kindergarteners at the age of five to six years in academic year 2014 from Anuban Roi-Et school under the Roi-Et Pimary Educational Service Area Office 1. The samples were divided into the experimental group and the control group: 30 each.The research duration was 12 weeks. The reseaon tool was the test of narrative ability of kindergarteners. The data was statistically analyzed by using arithmetic mean, standard deviation, and t-test. The research findings were as follows: 1) After the experiment, the narrative ability mean scores of the experimental group was significantly higher than that of pre-test at .01 level. 2) After the experiment, the narrative ability mean scores of the experimental group was higher than that of the control group at .01 level.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1254-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectภาษา
dc.subjectการเล่าเรื่อง
dc.subjectพัฒนาการของเด็ก
dc.subjectภาษา -- การศึกษาและการสอน
dc.subjectศิลปะการใช้ภาษา
dc.subjectนักเรียนอนุบาล -- ภาษา
dc.subjectLanguage and languages
dc.subjectNarration (Rhetoric)
dc.subjectChild development
dc.subjectLanguage and languages -- Study and teaching
dc.subjectLanguage arts
dc.titleผลของการจัดประสบการณ์ทางภาษาโดยใช้ศิลปะแบบบูรณาการที่มีต่อความสามารถในการพูดเล่าเรื่องของเด็กอนุบาลen_US
dc.title.alternativeEFFECTS OF ORGANIZING EXPERIENCES IN LANGUAGE ARTS BY USING ART INTEGRATION ON NARRATIVE ABILITY OF KINDERGARTENERSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการศึกษาปฐมวัยen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorworawan.h@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1254-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5483344327.pdf4.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.