Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46560
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPatcharee Ritprajaken_US
dc.contributor.advisorOranart Matangkasombuten_US
dc.contributor.authorSirawit Jirawannapornen_US
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Graduate Schoolen_US
dc.date.accessioned2015-09-19T03:40:39Z-
dc.date.available2015-09-19T03:40:39Z-
dc.date.issued2014en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46560-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2014en_US
dc.description.abstractMannan in fungal cell wall plays a crucial role in the activation of innate immunity, however it has not been studied how different mannan structure involves in innate immune responses. Thus, this study aims to investigate the effects of Saccharomyces cerevisiae possessing different cell wall mannan structures on dendritic cells (DCs) responses. Bone marrow-derived dendritic cells (BM-DCs) were stimulated with heat-killed S. cerevisiae Wt and mutants that lack of the single gene involving in each step of mannosylation. Then, mRNA expression of T helper lymphocyte (Th)-inducing cytokines was determined by quantitative real-time PCR. The results demonstrated that S. cerevisiae mnn1Δ, lacking of α-1,3 mannan, notably enhanced the expression of Th-1 inducing cytokines, Il12a and Ifng, while mnn2Δ, lacking of α-1,3 and α-1,2 mannan, significantly increased Ifng expression in BM-DCs when compared to Wt. Furthermore, BM-DCs stimulated with och1Δ, which N-linked mannan was absence, showed the significant increase in Il1a, Il1b, and Il23a, the cytokines involving in Th17 induction and amplification respectively. The data suggested that the different mannan structures affected DC responses, which may consequently influence Th differentiation. This knowledge will be beneficial for the development of carbohydrate adjuvants in the future.en_US
dc.description.abstractalternativeแมนแนนในผนังเซลล์ของเชื้อรามีบทบาทสำคัญในการกระตุ้นภูมิคุ้มกันโดยกำเนิด อย่างไรก็ตามยังไม่มีการศึกษาเกี่ยวกับผลของโครงสร้างแมนแนนที่แตกต่างกันต่อการตอบสนองของภูมิคุ้มกันโดยกำเนิด ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของโครงสร้างแมนแนนที่แตกต่างกันในผนังเซลล์ของเชื้อราแซคคาโรไมซิส เซเรวิซีอี ต่อการตอบสนองของเดนดริติกเซลล์ โดยทำการกระตุ้นเดนดริติกเซลล์ที่พัฒนามาจากไขกระดูกด้วยยีสต์สายพันธุ์ปกติ และยีสต์ที่ไม่มียีนส์ที่เกี่ยวข้องกับการเติมแมนแมนโครงสร้างต่าง ๆ ในผนังเซลล์ ซึ่งยีสต์ดังกล่าวจะถูกทำให้ตายด้วยความร้อนและนำมากระตุ้นเดนดริติกเซลล์ที่พัฒนามาจากไขกระดูก จากนั้นทำศึกษาระดับการแสดงออกของไซโตไคน์ยีนส์ที่เกี่ยวข้องกับการเหนี่ยวเฮลเปอร์ทีลิมโฟไซต์ชนิดต่างๆ ด้วยการวิเคราะห์การแสดงออกของสารพันธุกรรมเชิงปริมาณ โดยใช้เทคนิคปฏิกิริยาลูกโซ่โพลีเมอเรสในสภาพจริง จากผลการวิจัยพบว่ายีสต์ที่ไม่มียีนส์เอ็มเอ็นเอ็น 1 ซึ่งทำให้ขาดโครงสร้างแมนแนนแอลฟา 1,3 สามารถเพิ่มการแสดงออกของยีนส์อินเตอร์ลิวคิน-12 แอลฟา และอินเตอร์เฟียรอนแกมมาอย่างมีนัยสำคัญในเดนไดรติกเซลล์เมื่อเทียบกับยีสต์สายพันธ์ปกติ และยีสต์ไม่มียีนส์เอ็มเอ็นเอ็น 2 ซึ่งทำให้ขาดโครงสร้างแมนแนนแอลฟา 1,2 และ 1,3 สามารถเพิ่มการแสดงออกของยีนส์อินเตอร์เฟียรอนแกมอย่างมีนัยสำคัญในเดนไดรติกเซลล์ โดยอินเตอร์ลิวคิน-12 และอินเตอร์เฟียรอนแกมมาเป็นไซโตไคน์สำคัญต่อการแปรสภาพของทีเฮลเปอร์ 1 นอกจากนี้ยังพบว่าการกระตุ้นเดนไดรติกเซลล์ด้วยยีสต์ที่ไม่มียีนส์โอซีเฮช 1 ซึ่งทำให้ขาดโครงสร้างเอ็นลิงค์แมนแนน มีผลทำให้มีการแสดงออกที่เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญของไซโตไคน์ยีนส์ชนิดอินเตอร์ลิวคิน 1 ซึ่งมีความสำคัญในการแปรสภาพของทีเฮลเปอร์ 17 และอินเตอร์ลิวคิน 23 ซึ่งทำหน้าที่ช่วยเพิ่มจำนวนและควบคุมการทำงานของทีเฮลเปอร์ 17 จากผลการศึกษาดังกล่าวแสดงว่าโครงสร้างแมนแนนที่แตกต่างกันในผนังเซลล์ของเชื้อราแซคคาโรไมซิส เซเรวิซีอีมีผลต่อการกำหนดทิศทางการตอบสนองของเดนไดรติกเซลล์ ซึ่งอาจมีอิทธิพลต่อการแปรสภาพของทีเซลล์ได้ ผลงานวิจัยนี้จะสามารถนำไปต่อยอดเพื่อการพัฒนาสารเสริมฤทธิ์ชนิดคาร์โบไฮเดรตได้ในอนาคตen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.384-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectImmunological adjuvants-
dc.subjectDendritic cells-
dc.subjectYeast-
dc.subjectCytokines-
dc.subjectSaccharomyces cerevisiae-
dc.subjectสารกระตุ้นภูมิคุ้มกัน-
dc.subjectเซลล์เดนไดรท์-
dc.subjectยีสต์-
dc.subjectไซโตไคน-
dc.titleDIFFERENTIAL DENDRITIC CELL RESPONSE TO FUNGAL CELL WALL MANNANSen_US
dc.title.alternativeการตอบสนองที่แตกต่างกันของเดนไดรติกเซลล์ต่อแมนแนนในผนังเซลล์ของเชื้อราen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineMedical Microbiology (Inter-Department)en_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorPatcharee.R@Chula.ac.th,p.ritprajak@gmail.comen_US
dc.email.advisorOranart.M@Chula.ac.th,noon.oranart@gmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.384-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5587188620.pdf2.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.