Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46612
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเมตตา วิวัฒนานุกูลen_US
dc.contributor.authorจุฑารัตน์ ประเสริฐen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-19T03:41:17Z
dc.date.available2015-09-19T03:41:17Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46612
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractการวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้แอพพลิเคชั่นไลน์ ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้แอพพลิเคชั่นไลน์กับการรับรู้ตนเอง และความสัมพันธ์ระหว่างการใช้แอพพลิเคชั่นไลน์กับการสร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่นของผู้สูงอายุในสังคมไทย โดยเป็นการวิจัยแบบสหวิธีประกอบด้วย การวิจัยเชิงสำรวจด้วยแบบสอบถามจากผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ทั้งชายและหญิงที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครจำนวน 400 คน และการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปจำนวน 12 คน ผลการศึกษาพบว่า 1. ผู้สูงอายุใช้ฟังก์ชั่นสนทนาส่วนบุคคล สื่อสารกับบุตรหลาน/ญาติพี่น้อง และคนในครอบครัว เพื่อพูดคุย-แลกเปลี่ยน ข้อมูลข่าวสาร/เหตุการณ์ประจำวัน มากที่สุด โดยมีความถี่ในการใช้ฟังก์ชั่นประเภทต่างๆ ในการสื่อสารกับบุคคลอื่น และในการใช้เพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆ อยู่ในระดับปานกลาง ทั้งหมด คือ มีค่าเฉลี่ย 2.54 2.90 และ 2.75 ตามลำดับ 2. พฤติกรรมการใช้แอพพลิเคชั่นไลน์ มีความสัมพันธ์กับระดับการรับรู้ตนเองเชิงบวกของผู้สูงอายุ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยผู้สูงอายุมีการรับรู้ตนเองเชิงบวกในระดับสูง มีค่าเฉลี่ย 3.97 3. พฤติกรรมการใช้แอพพลิเคชั่นไลน์มีความสัมพันธ์กับการสร้างความสัมพันธ์เฃิงบวกกับผู้อื่นของผู้สูงอายุ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยผู้สูงอายุมีการสร้างความสัมพันธ์เชิงบวกกับบุคคลภายในและภายนอกครอบครัวอยู่ในระดับสูงทั้งสองกลุ่ม โดยมีค่าเฉลี่ย 4.26 และ 4.09 ตามลำดับen_US
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study Thai elderlies’ Line application consumption behavior, correlation between their usage of Line application and self-perception and the correlation between their usage of Line application and relations with others. This study is conducted by multi-methodology research using survey questionnaires with 400 male and female elderlies aged above 60 years old, and an in-depth interview with 12 elderly age above 60 years old living in Bangkok. The results show that 1. The elderly use “personal chat” function to communicate with relatives, descendants and family members about daily news and events. Frequency of using each function for communicating with others and for all purposes is at medium level with means of 2.54 2.90 and 2.75 respectively. 2. Line application consumption behavior of the elderly is found to have statistically significant relationship with level of their positive self-perception. Means of their positive self-perception is 3.97. 3. Line application consumption behavior of the elderly is found to have statistically significant relationship with level of their positive relationship with others. Means of their positive relationship with both family members and other people is at high level, which is 4.26 and 4.09 respectively.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1353-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectผู้สูงอายุ -- ไทย
dc.subjectความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
dc.subjectการรับรู้ตนเอง
dc.subjectสื่อสังคมออนไลน์
dc.subjectOlder people -- Thailand
dc.subjectInterpersonal relations
dc.subjectSelf-perception
dc.subjectSocial media
dc.titleพฤติกรรมการใช้แอพพลิเคชั่นไลน์กับการรับรู้ตนเองและการสร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่นของผู้สูงอายุไทยen_US
dc.title.alternativeTHAI ELDERLIES' LINE APPLICATION CONSUMPTION BEHAVIOR, SELF-PERCEPTION AND RELATIONS WITH OTHERSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorMetta.V@Chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1353-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5684659428.pdf3.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.