Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46624
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโสตถิธร มัลลิกะมาสen_US
dc.contributor.authorธนิฏฐา พุ่มอิ่มen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-19T03:41:25Z
dc.date.available2015-09-19T03:41:25Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46624
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาปัจจัยในการเลือกใช้เครื่องมือการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ของผู้บริโภค โดยแบ่งการศึกษาเป็น 3 แบบจำลอง (1)ความน่าจะเป็นในการเลือกใช้เครื่องมือการชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์เครื่องมือใดก็ได้ของผู้บริโภค โดยการประมาณค่าด้วยวิธี logit (2)ความน่าจะเป็นในการเลือกใช้บัตรอิเล็กทรอนิกส์ โดยการประมาณค่าด้วยวิธี multinomial logit และ(3)ความน่าจะเป็นในการเลือกใช้ internet banking หรือ mobile banking โดยการประมาณค่าด้วยวิธี logit งานศึกษานี้ใช้ข้อมูลจาก FinScope Thailand 2013 ผลการศึกษา พบว่า อายุ เพศชาย มีความสัมพันธ์ทางลบกับการเลือกใช้เครื่องมือการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ ขณะที่ความรู้ทางการเงิน ระดับการศึกษา การใช้โทรศัพท์มือถือและอินเตอร์เน็ตรายได้ สถานภาพแรงงาน และพื้นที่อยู่ในเขตเทศบาล มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการเลือกใช้เครื่องมือการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ นอกจากนี้ผลการศึกษาด้วยวิธี multinomial logit พบว่า อายุ เพศชาย มีความสัมพันธ์ทางลบกับการเลือกใช้บัตรเดบิต ขณะที่ สถานะภาพสมรส ระดับการศึกษา การใช้โทรศัพท์มือถือและการใช้อินเตอร์เน็ต รายได้ ความรู้ทางการเงิน และพื้นที่อยู่ในเขตเทศบาล มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการเลือกใช้บัตรเดบิต นอกเหนือจากนั้นพบว่า อายุ ระดับการศึกษา รายได้ ความรู้ทางการเงิน และพื้นที่อยู่ในเขตเทศบาล มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการเลือกใช้บัตรเครดิต สุดท้ายการศึกษาความน่าจะเป็นในการเลือกใช้ internet banking หรือ mobile banking พบว่า รายได้ การใช้บริการอินเทอร์เน็ต ความรู้ทางการเงิน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการเลือกใช้ internet banking หรือ mobile bankingen_US
dc.description.abstractalternativeThe thesis is to study consumers’ decisions to adopt electronic payment instruments. Three discrete choice models are employs. First, logit model is to investigate whether to adopt an electronic payment instrument or not. Second, multinomial logit is to investigate whether to adopt debit cards or credit cards or not. Third, logit model is to study whether to use electronic banking or not. Data are from FinScope Thailand 2013. The results show that age and male have negative impacts on the probability to adopt electronic payment instruments. While level of financial literacy and education, mobile phone usage, internet usage, income, employment, urbanization have positive impact on the probability. In addition, the multinomial logit results show that age and male have negative affect on the probability of using debit cards while marital status, education, mobile and internet usage, income, financial literacy and urbanization have positive impact on the use of debit cards. Moreover, the use of credit cards depends positively on age, education, income, financial literacy and urbanization. Lastly, the probability to adopt internet banking or mobile banks have positive correlations with income, internet usage and financial literacy.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1363-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความต้องการถือเงิน -- ไทย
dc.subjectบริการธนาคารทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ -- ไทย
dc.subjectบัตรเดบิต -- ไทย
dc.subjectบัตรเครดิต -- ไทย
dc.subjectการชำระเงิน -- ไทย
dc.subjectธนาคารทางอินเทอร์เน็ต -- ไทย
dc.subjectDemand for money -- Thailand
dc.subjectBanks and banking, Mobile -- Thailand
dc.subjectDebit cards -- Thailand
dc.subjectCredit cards -- Thailand
dc.subjectPayment -- Thailand
dc.subjectInternet banking -- Thailand
dc.titleปัจจัยในการเลือกใช้เครื่องมือการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeAdoption of electronic payment instruments in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSothitorn.M@Chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1363-
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5685158529.pdf3.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.