Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47421
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิภา อุตมฉันท์-
dc.contributor.authorใจทิพย์ ศรีประกายเพ็ชร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-03-31T09:29:29Z-
dc.date.available2016-03-31T09:29:29Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.isbn9746315293-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47421-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์สำคัญ 2 ประการ ประการแรกเพื่อศึกษากลยุทธ์การประชาสัมพันธ์โครงการดาวเทียมไทยคม และประการที่ 2 เพื่อศึกษาประสิทธิผลของแผนประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างภาพลักษณ์โครงการดาวเทียมไทยคม การศึกษาในส่วนของกลยุทธ์การสร้างภาพลักษณ์โครงการดาวเทียมไทยคม เป็นการศึกษาจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารที่รับผิดชอบด้านการประชาสัมพันธ์ กลุ่มชินวัตร และศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง พบว่า กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์โครงการดาวเทียมไทยคมแบ่งเป็น 3 ช่วง คือ 1. การประชาสัมพันธ์ช่วงก่อนยิงดาวเทียมขึ้นสู่วงโคจร (THAICOM pre-lauch campaign) 2. การประชาสัมพันธ์ช่วงที่ดาวเทียมไทยคมใกล้จะถูกส่งขึ้นสู่วงโคจรแล้ว (THAICOM launch post-lauch campaign) 3. การประชาสัมพันธ์ช่วงหลังจากที่ดาวเทียมไทยคมได้ถูกส่งขึ้นสู่วงโคจรแล้ว (THAICOM post-launch campaign) จากกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ทั้ง 3 ช่วง พบว่า กลุ่มชินวัตร ได้ใช้กลยุทธ์ในการสร้างภาพลักษณ์ให้กับดาวเทียมไทยคม 2 ลักษณะ คือ การใช้การโฆษณาเพื่อการประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์ขององค์กร (Corporate Advertising) และการสร้างเหตุการณ์เทียม (Pseudo-Events) ทั้งนี้กระบวนการในการสร้างภาพลักษณ์ แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน คือ 1. การให้ข้อมูลข่าวสาร 2. การโน้มน้าวชักจูงใจ 3. การย้ำความเชื่อถือในโครงการฯ นอกจากนี้ ผู้วิจัยยังได้ศึกษาถึงประสิทธิผลของการสร้างภาพลักษณ์โครงการดาวเทียมไทยคมจากการดำเนินกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ที่ผ่านมา พบว่า โดยภาพรวมแล้วคนไทยที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพฯ และปริมณฑลรู้จักดาวเทียมไทยคม 92% หากจำแนกตามระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่างที่ทำการสำรวจ พบว่า กลุ่มที่รู้จักดาวเทียมไทยคมมากที่สุด คือ กลุ่มที่มีระดับการศึกษาตั้งแต่ปริญญาตรีขึ้นไป รองลงมาคือ กลุ่มที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับอุดมศึกษา และกลุ่มที่มีระดับการศึกษาต่ำกว่า ม.6 ตามลำดับen_US
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are to study the strategies of building THAICOM satellite image and to study its effectiveness. The study of the strategies of building THAICOM satellite image is based on exclusive personal interviews with public relations managers of Shinawatra Group and corporate documents. The study showed that THAICOM public relations plan was carried out in 3 stages ; THAICOM pre-launch campaign, THAICOM launch campaign and THAICOM post-launch campaign. On the 3 stages of public relations strategies, the research found out that Shinawatra group builds image of THAICOM satellite by 2 strategies which are Corporate Advertising and Pseudo-Events. Thus, the public relations plan has 3 processes for image building; 1. Publicity 2. Persuasion 3. Reinforcing the credibility of THAICOM satellite Besides, the research of effectiveness on THAICOM satellite found that in overall, 92% of people in Bangkok Metropolitan area have heard of THAICOM. When the sampling groups are classified by education, it is found that THAICOM is the best recognized by post-graduate level group. Secondly, by graduate level group. And finally, by under high school level group.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการประชาสัมพันธ์en_US
dc.subjectดาวเทียมในโทรคมนาคมen_US
dc.subjectโครงการดาวเทียมไทยคมen_US
dc.titleการศึกษากลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ และประสิทธิผลการสร้างภาพลักษณ์ของโครงการดาวเทียมไทยคมen_US
dc.title.alternativeA study of public relations strategies and its effectiveness in image building of Thaicom satelliteen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorVipha.U@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jaitip_sr_front.pdf5.56 MBAdobe PDFView/Open
Jaitip_sr_ch1.pdf7.05 MBAdobe PDFView/Open
Jaitip_sr_ch2.pdf5.94 MBAdobe PDFView/Open
Jaitip_sr_ch3.pdf2.62 MBAdobe PDFView/Open
Jaitip_sr_ch4.pdf2.49 MBAdobe PDFView/Open
Jaitip_sr_ch5.pdf13.74 MBAdobe PDFView/Open
Jaitip_sr_ch6.pdf5.73 MBAdobe PDFView/Open
Jaitip_sr_back.pdf3.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.