Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47536
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพล สาเกทอง-
dc.contributor.authorศศิวิมล สูงสว่าง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-04-22T06:32:38Z-
dc.date.available2016-04-22T06:32:38Z-
dc.date.issued2526-
dc.identifier.isbn9745621498-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47536-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526en_US
dc.description.abstractเทคนิคทางฟลูอิไดซ์เบดเป็นวิธีที่มีผู้นำมาพัฒนาเตาเผาที่ใช้ในการเผาไหม้เชื้อเพลิงที่เป็นของแข็งเนื่องจากฟลูอิไดซ์เบดมีข้อดีในแง่ของการถ่ายเทความร้อนและการถ่ายเทมวลสารซึ่งเป็นไปอย่างสม่ำเสมอ ในงานวิจัยนี้เป็นการเผาไหม้แกลบสนเตาเผาแบบฟลูอิไดซ์เบด เพื่อศึกษาหาสภาวะที่เหมาะสมของการเผาไหม้ที่ทำให้ได้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มทุน อันจะเป็นประโยชน์ต่อเทคโนโลยีในการเปลี่ยนแปลงแกลบที่เหลือใช้ซึ่งมีอยู่เป็นปริมาณมากประมาณ 5 ล้านตันต่อปี ให้เป็นพลังงานความร้อนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไปขั้นตอนการวิจัยนั้นเริ่มต้นด้วยการสร้างเครื่องมือวิจัย ศึกษาการทำงานและกลไกการทำงานของเครื่องมือวิจัยเตาเผาไหม้แบบฟลูอิไดซ์เบดแบบต่อเนื่องจากนั้นเก็บข้อมูลการวิจัยโดยมีตัวแปรที่พิจารณาคือ อัตราการไหลของอากาศและอุณหภูมิของการเผาไหม้เพื่อที่จะหาความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพของความร้อนที่เกิดขึ้นซึ่งทำให้ได้สภาวะที่เหมาะสมของการเผาไหม้แกลบในฟลูอิไดซ์เบด ในการทดลองมีการแปรความเร็วของอากาศจาก 20.62 เมตรต่อนาทีถึง 45.67 เมตรต่อนาที และอุณหภูมิของการเผาไหม้จาก 500 ถึง 800 องศาเซลเซียสผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าสภาวะที่เหมาะสมในการเผาไหม้แกลบในฟลูดิไดซ์เบดคือที่ความเร็วของอากาศ 32.77 เมตรต่อนาที และอุณหภูมิของการเผาไหม้ประมาณ 700 องศาเซลเซียส ซึ่งจากการคำนวณจะให้ประสิทธิภาพของการเผาไหม้ร้อยละ 96.91 โดยมีอัตราการป้อนแกลบ 3.05 กิโลกรัมต่อชั่วโมง นอกจากนั้นได้มีการเปรียบเทียบเถ้าแกลบที่ได้จากการเผาไหม้ตามวิธีที่ใช้อยู่ในปัจจุบันกับเถ้าแกลบที่ได้จากการเผาไหม้ในฟลูอิไดซ์เบด พบว่าประสิทธิภาพของการเผาไหม้โดยฟลูอิไดซ์เบดจะสูงกว่าประมาณร้อยละ 47-53en_US
dc.description.abstractalternativeA fluidization technique was used in the development of a solid fuel combustor in order to take advantage of homogeneity of heat and mass transfer in such techniques. This work deals with the combustion of Thai rice hulls in such a fluidized bed combustor in order to study the optimal operating conditions with regards to conversion efficiency and economics, leading to the eventual utilization of such technology to convert the estimated 5 million tons of largely unused rice hulls into heat energy. In this study the design and construction of a small scale continuous fluidized bed combustor was made after which mechanical and operational difficulties were encountered and solved. The combustor operating parameters studied were air flow rates and combustion temperatures in order to get a relation between these two variables and the best condition for combustion of rice hulls. In this study air flow rates were varied from 20.62 m/min to 47.76 m/min and the combustion temperature were varied from500๐c to 800๐c. The results indicate that the best conditions for combustion of rice hulls in a fluidized bed are an air velocity of 32.77 m/min and a 700๐c combustion temperature. The combustion efficiency was calculated a 96.91 percent at a rice hull feed rate of 3.05 kg/hr. Ash from combustion using this technique was compared with ash from conventional combustion. The result shown that about 47-53 percent more effective.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการเผาไหม้แบบฟลูอิไดซ์เบดen_US
dc.subjectแกลบen_US
dc.subjectFluidized-bed combustionen_US
dc.subjectRice hullsen_US
dc.title.alternativeCombustion of rice hulis in fluidized beden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sasiwimon_so_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ1.45 MBAdobe PDFView/Open
Sasiwimon_so_ch1.pdfบทที่ 1334.67 kBAdobe PDFView/Open
Sasiwimon_so_ch2.pdfบทที่ 21.97 MBAdobe PDFView/Open
Sasiwimon_so_ch3.pdfบทที่ 3964.45 kBAdobe PDFView/Open
Sasiwimon_so_ch4.pdfบทที่ 4779.8 kBAdobe PDFView/Open
Sasiwimon_so_ch5.pdfบทที่ 51.27 MBAdobe PDFView/Open
Sasiwimon_so_ch6.pdfบทที่ 61.33 MBAdobe PDFView/Open
Sasiwimon_so_ch7.pdfบทที่ 7292.09 kBAdobe PDFView/Open
Sasiwimon_so_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก2.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.