Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47666
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธงชัย พรรณสวัสดิ์-
dc.contributor.authorลักษณา โกมลเมธี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-05-28T07:38:00Z-
dc.date.available2016-05-28T07:38:00Z-
dc.date.issued2535-
dc.identifier.isbn9745820334-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47666-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาผลของอัตราการไหลต่อประสิทธิภาพการบำบัดของระบบบำบัดน้ำเสียสำเร็จรูปแบบเครื่องกรองไร้อากาศซึ่งมีปริมาตร 4.5 ลูกบาศก์เมตร (1.3x3.3x1.4m3) อัตราการไหลของน้ำเสียที่วิจัยคือ 1.2, 2.4 และ 4.8 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน จากผลการวิจัยพบว่าประสิทธิภาพการบำบัดที่ดีที่สุดคือการผ่านน้ำเสียเข้าระบบตลอด 24 ชั่วโมงได้ประสิทธิภาพการกำจัด ซีโอดี บีโอดี และเอสเอส เท่ากับ 75, 85 และ 91% ตามลำดับซึ่งมีขีดความสามารถในการรับปริมาณอินทรียสารเท่ากับ 0.13 ถึง 0.50 กิโลกรัม บีโอดีต่อลูกบาศก์เมตรต่อวัน ผลที่ได้จะแปรผันตามระยะเวลากักน้ำเสียหรือแปรผันผกผันกับอัตราการไหล ได้ความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพการกำจัดอินทรียสารกับอัตราการไหลของน้ำเสียเป็นกราฟลักษณะรูปโค้งเว้าลงและคุณภาพน้ำทิ้งที่ออกจากระบบอยู่ในมาตรฐานสำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2528 กล่าวคือมี บีโอดีอยู่ในช่วง 26 ถึง 65 มก./ล. ซีโอดีอยู่ในช่วง 92 ถึง 159 มก./ล. และตะกอนแขวนลอยอยู่ในช่วง 17 ถึง 45 มก./ล.en_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study the effects of flowrates on treatment efficiency of a prefabricated anaerobic filter unit of which volume was 4.5 m3 (1.3x3.3x1.4 m3). The investigated folwrates were 1.2, 2.4 and 4.8 m3/ day, respectively. From the experimental results, it was found that the highest treatment efficiency could be achieved with 24 hr. continuous flow. The efficiency of COD, BOD and SS removal were 75, 85 and 91% respectively. This is equivalent to the organic loading of 0.13 to 0.5 kg BOD/m3-d. The efficiency varied as retention time and inversely as flowrates. The relationship of organic removal efficiency and flowrates was a convex curve. The treatment effluent could conform to 1985 NEB standard. This is effluent BOD 26 to 65 mg/L, effluent COD 92-159 mg/L and effluent SS 17-45 mg/L.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleระบบบำบัดน้ำเสียสำเร็จรูปแบบเครื่องกรองไร้อากาศ : ผลของอัตราการไหลต่อประสิทธิภาพการบำบัดen_US
dc.title.alternativePrefabricated anaerobic filter type sewage treatment system : effect of flowrates upon the treatment efficiencyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม (สหสาขาวิชา)en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Laksana_ko_front.pdf1.34 MBAdobe PDFView/Open
Laksana_ko_ch1.pdf1.13 MBAdobe PDFView/Open
Laksana_ko_ch2.pdf5.68 MBAdobe PDFView/Open
Laksana_ko_ch3.pdf1.59 MBAdobe PDFView/Open
Laksana_ko_ch4.pdf2.67 MBAdobe PDFView/Open
Laksana_ko_ch5.pdf863.82 kBAdobe PDFView/Open
Laksana_ko_ch6.pdf491.19 kBAdobe PDFView/Open
Laksana_ko_ch7.pdf479.19 kBAdobe PDFView/Open
Laksana_ko_back.pdf8.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.