Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47671
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พร้อมพรรณ อุดมสิน | - |
dc.contributor.author | วิชัย สนทอง | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2016-05-28T08:07:33Z | - |
dc.date.available | 2016-05-28T08:07:33Z | - |
dc.date.issued | 2527 | - |
dc.identifier.isbn | 9745633224 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47671 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527 | en_US |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้ คือ 1. เพื่อศึกษาผลของการใช้เครื่องคิดเลขในการเรียนคณิตศาสตร์ในชั้นเรียน ต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 2. เพื่อศึกษาผลของการใช้เครื่องคิดเลขในการทำการบ้าน ต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 3. เพื่อศึกษาปฏิกิริยาร่วมระหว่าง การใช้เครื่องคิดเลขในการเรียนคณิตศาสตร์ในชั้นเรียนและการใช้เครื่องคิดเลขในการทำการบ้าน ต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ ปีการศึกษา 2526 จำนวน 80 คน โดยแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 4 กลุ่มๆ ละ 20 คน คือ กลุ่มที่ 1 ใช้เครื่องคิดเลขในการเรียนคณิตศาสตร์ในชั้นเรียนและใช้ในการทำการบ้าน กลุ่มที่ 2 ใช้เครื่องคิดเลขในการเรียนคณิตศาสตร์ในชั้นเรียนแต่ไม่ใช้ในการทำการบ้าน กลุ่มที่ 3 ไม่ใช้เครื่องคิดเลขในการเรียนคณิตศาสตร์แต่ใช้ในการทำการบ้าน และกลุ่มที่ 4 ไม่ใช้เครื่องคิดเลขในการเรียนคณิตศาสตร์และไม่ใช้ในการทำการบ้าน ผู้วิจัยได้ทดลองสอนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง “ทฤษฎีเบื้องต้นของความน่าจะเป็น” ให้กับกลุ่มตัวอย่างทั้ง 4 กลุ่ม เป็นเวลา 20 คาบ เมื่อเรียนจบบทเรียนแล้วให้นักเรียนทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ซึ่งมีค่าความเที่ยง 0.884 แล้วนำคะแนนจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์มาวิเคราะห์ โดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทาง ที่ระดับความมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ผลการวิจัยสรุปได้ว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่ใช้เครื่องคิดเลขในการเรียนคณิตศาสตร์ในชั้นเรียน และนักเรียนที่ไม่ใช้เครื่องคิดเลขในการเรียนคณิตศาสตร์ในชั้นเรียนแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยนักเรียนที่ใช้และนักเรียนที่ใช้เครื่องคิดเลขในการเรียนคณิตศาสตร์ในชั้นเรียนมีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่านักเรียนที่ไม่ใช้เครื่องคิดเลขในการเรียนคณิตศาสตร์ในชั้นเรียน 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่ใช้เครื่องคิดเลขในการทำการบ้านและนักเรียนที่ไม่ใช้เครื่องคิดเลขในการทำการบ้าน ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3. การใช้เครื่องคิดเลขในการเรียนคณิตศาสตร์ในชั้นเรียน และการใช้เครื่องคิดเลขในการทำการบ้าน ไม่มีปฏิกริยาร่วมกันต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 | en_US |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were as follows : 1. To study the effect of using calculator in mathematics classroom learning on mathematics achievement of mathayom suksa six students. 2.To study the effect of using calculator in homework assignment on mathematics achievement of mathayom suksa six students. 3. To study the interaction of using calculator in mathematics achievement of mathayom suksa six students. The subject of this study were eighty students in mathayom suksa six at Rattanaburi school in Surin province during 1983 academic year. The subject were divided into four groups, twenty each. The first group used calculator in mathematic classroom learning and also used it in homework assignment. The second group used it in mathematics classroom learning only. The third group did not use it in mathematics classroom learning but used in homework assignment. And the fourth group neither used it in mathematics classroom learning nor homework assignment. Twenty periods of instruction on “Fundamental theory of probability” were perform by the researcher for each group. The mathematics achievement test which the reliability was 0.884, was administered to all students after the instruction was fulfilled. The scores from mathematics achievement were analyzed by two-way analysis of variance. The findings were : 1. There was difference in mathematics achievement of students who used and did not use calculator in mathematics classroom learning at the 0.05 level of significance. The mean scores of students who used calculator in mathematics classroom learning were more than students who did not use calculator in mathematics classroom learning. 2. No difference was found in mathematic achievement of students who used and did not use calculator in homework assignment at the 0.05 level of significance. 3. No difference was found in mathematics achievement due to the interaction of being used calculator or not being used calculator in mathematics classroom learning and homework assignment at the 0.05 level of significance | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | en_US |
dc.title | ผลของการใช้เครื่องคิดเลขในการเรียนคณิตศาสตร์ในชั้นเรียน และในการทำการบ้าน ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 | en_US |
dc.title.alternative | The effect of using calculator in mathematics classroom learning and homework assignment on mathematics achievement of mathayom suksa six students | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | มัธยมศึกษา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Prompan.U@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Vichai_so_front.pdf | 1.45 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Vichai_so_ch1.pdf | 1.1 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Vichai_so_ch2.pdf | 2.48 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Vichai_so_ch3.pdf | 1.26 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Vichai_so_ch4.pdf | 1.05 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Vichai_so_ch5.pdf | 959.93 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Vichai_so_back.pdf | 17.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.