Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47780
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มัทยา จิตติรัตน์ | - |
dc.contributor.author | รังสิชัย บรรณกิจวิจารณ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2016-06-03T01:11:56Z | - |
dc.date.available | 2016-06-03T01:11:56Z | - |
dc.date.issued | 2533 | - |
dc.identifier.isbn | 9745777455 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47780 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533 | en_US |
dc.description.abstract | ปัญหาเรื่องมลภาวะทางเสียงจัดว่าเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญปัญหาหนึ่ง ถ้ามิได้มีการป้องกัน ควบคุม และแก้ไขแล้ว ก็นับวันจะทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งในการทำวิทยานิพนธ์ในครั้งนี้ ผู้เขียนได้จากการศึกษาถึงมาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับปัญหามลภาวะทางเสียงโดยเฉพาะเสียงที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม ประการหนึ่ง กฎหมายไทยกำหนดเหตุเดือดร้อนรำคาญเรื่องเสียงดังไว้ชัดเจนแค่ไหน ประการหนึ่งกฎหมายที่มีอยู่ในปัจจุบันให้ความคุ้มครองแก่ประชาชนที่อยู่ใกล้เคียงกับโรงงานจากเสียงรบกวนมากน้อยแค่ไหน และอีกประการหนึ่งก็คือองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการบังคับใช้กฎหมายอันเกิดจากมลภาวะทางเสียง มีประสิทธิภาพมากน้อยแค่ไหน จากการศึกษาวิจัยโดยวิธีการค้นคว้าศึกษาเนื้อหารายละเอียดกฎหมาย และสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ผู้ควบคุมดูแลกฎหมายของรัฐ รวมทั้งการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อดูถึงปัญหาและทัศนคติของประชาชน พบว่าเจ้าหน้าที่ผู้ควบคุมดูแลกฎหมายของรัฐยังมีประสิทธิภาพในการทำงานไม่สมบูรณ์ ส่วนทัศนคติของประชาชนนั้นเห็นว่าเจ้าหน้าที่ผู้ควบคุมดูแลกฎหมายของรัฐยังมีประสิทธิภาพในการทำงานไม่สมบูรณ์เช่นกัน และจากการศึกษาพบว่ามีหน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบโดยตรง 3 แห่ง และหน่วยงานของรัฐที่สนับสนุนไม่ต่ำกว่า 3 แห่ง หน่วยงานของรัฐเหล่านี้ยังขาดการประสานงานซึ่งกันและกัน ข้อเสนอแนะจากการศึกษาวิจัยนี้คือ ควรจะให้เจ้าหน้าที่ของรัฐตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ของตนและควรจะมีมาตรการระยะสั้น โดยประกาศให้มาตรฐานของเสียงในชุมชนขึ้นใช้บังคับและมีการแก้ไขพระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. 2484 เพื่อเป็นการคุ้มครองประชาชนที่อาศัยอยู่ใกล้กับโรงงาน ผู้วิจัยเห็นควรที่จะจัดตั้งองค์กรหนึ่งขึ้นประสานงาน เพื่อให้ปัญหานี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ผู้วิจัยมีแนวความคิดว่าทฤษฎี Police Power เป็นทฤษฎีที่เหมาะสมกับปัญหานี้ซึ่งอาจนำไปใช้ได้ | en_US |
dc.description.abstractalternative | Noise pollution is one of the major environment problem. If there are no control, no prevention and correction, it could be gradually serious. In this thesis I study and research information about law measurement of noise pollution especially generating from industrial factory, How evidently Thai law imposes nuisance limit, how present law protects people near factory from noise, If concerned organization about law enforcement on noise pollution can operate efficiently or not. From research by law study and interviewing control state official including questionnaire about attitude and problem, people and I found that control state officials don’t work efficiently. There are only 3 state organizations responsible for this and more than 3 state organizations supporting this which these organizations lack cooperation. Proposal for this research is that state officials should realize their roles and duties and there ought to have short-period measurement about noise standard in community and correct public health act 1941 (B.E.2484) for protecting people near factory. In my opinion another organization ought to have been set up in order to cooperate and correct these problems. Police power concept could be suitable theory to solve these problems. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | มลพิษทางเสียง -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย | en_US |
dc.subject | การควบคุมเสียง -- ไทย | en_US |
dc.subject | เสียงรบกวนทางอุตสาหกรรม -- ไทย | en_US |
dc.subject | การควบคุมเสียง -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์กฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมเสียงจากโรงงาน ที่มีผลกระทบต่อชุมชน | en_US |
dc.title.alternative | Legal analysis on noise control from factories with giue impact to the community | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | นิติศาสตร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Rangsichai_ba_front.pdf | 1.18 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rangsichai_ba_ch1.pdf | 1.25 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rangsichai_ba_ch2.pdf | 2.86 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rangsichai_ba_ch3.pdf | 5.38 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rangsichai_ba_ch4.pdf | 4.66 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rangsichai_ba_ch5.pdf | 1.23 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rangsichai_ba_back.pdf | 2.17 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.