Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47832
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริจันทร์ ทองประเสริฐ-
dc.contributor.advisorก่อเกียรติ บุญชูกุศล-
dc.contributor.authorรังสินี รังกุพันธุ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-03T10:11:01Z-
dc.date.available2016-06-03T10:11:01Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746330845-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47832-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉนับนี้ เป็นการวิจัยเพื่อหาระดับความเชื่อมั่นของการทดสอบอัตราการขยายตัวของรอยร้าวเนื่องจากความล้า โดยใช้ข้อมูลการทดสอบจาก 2 แหล่ง คือข้อมูลการทดสอบอัตราการขยายตัวของรอยร้าวจากความล้าของวัสดุ SA335 P22 และข้อมูลการทดสอบของวัสดุเหล็กเพลาขาว ซึ่งใช้ชิ้นทดสอบแบบ compact specimen ที่มีความกว้าง 51 มิลลิเมตรและ 25.50 มิลลิเมตร ในการวิเคราะห์ได้เลือกปัจจัยที่คาดว่าจะมีอิทธิพลต่อการกระจายของข้อมูล นำปัจจัยที่เลือกมาทดสอบความมีนัยสำคัญของอิทธิพลต่อการกระจายของผลทดสอบ ซึ่งพบว่าการกระจายของข้อมูลเกิดจากอิทธิพลเนื่องจากความผิดพลาดแบบสุ่มโดยไม่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญจากปัจจัยที่เลือกมาทดสอบ และในการหาระดับความเชื่อมั่นนี้ใช้การประยุกต์จากทฤษฎีการวิเคราะห์ความถดถอย ซึ่งได้ผลว่าระดับความเชื่อมั่นของข้อมูลการทดสอบอัตราการขยายตัวของรอยร้าวจากความล้าของวัสดุ SA335 P22 มีระดับความเชื่อมั่นที่ระดับ 90% และระดับความเชื่อมั่นของข้อมูลการทดสอบของวัสดุเหล็กเพลาขาวมีระดับความเชื่อมั่นที่ระดับ 80%en_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of the thesis was to determine the confidence level of the fatigue crack growth rate testing. Data used in the testing were from fatigue crack growth rate testing of 2 materials : SA335 P22 and cold finished steel bars. The testing parts were compact specimen with 51 mm. width and with 25.50 mm. width. The analysis was focused on factors which were expected to influence data scatter. After testing the significance of their influence, it was found that data scatter was influenced by random error not by the selected factors. In determining the confidence level of fatigue crack growth rate testing, the regession analysis theory was applied. The result of the testing showed that the confidence level for the fatigue crack growth rate testing was 90% for SA335 P22 and 80% for cold finished steel bars.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอายุการใช้งาน -- การประเมินen_US
dc.subjectชิ้นส่วนเครื่องจักรกลen_US
dc.subjectความล้า -- การทดสอบen_US
dc.subjectรอยร้าว -- อัตราการขยายตัวen_US
dc.titleการวิเคราะห์ระดับความเชื่อมั่นของการทดสอบเพื่อประเมินอายุใช้งาน ของชิ้นส่วนเครื่องจักรกล โดยวิธีการขยายตัวของรอยร้าวen_US
dc.title.alternativeA confidence analysis for life assessment testing of machinery component by propagation a crack growth rateen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSirichan.T@Chula.ac.th-
dc.email.advisorKaukeart.B@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rangsinee_ra_front.pdf1.33 MBAdobe PDFView/Open
Rangsinee_ra_ch1.pdf384.07 kBAdobe PDFView/Open
Rangsinee_ra_ch2.pdf1.65 MBAdobe PDFView/Open
Rangsinee_ra_ch3.pdf391.85 kBAdobe PDFView/Open
Rangsinee_ra_ch4.pdf3.19 MBAdobe PDFView/Open
Rangsinee_ra_ch5.pdf1.2 MBAdobe PDFView/Open
Rangsinee_ra_back.pdf10.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.