Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47964
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorถนอมวงศ์ กฤษณ์เพ็ชร์
dc.contributor.authorวิชากร จันทรโคตร
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2016-06-06T09:24:10Z
dc.date.available2016-06-06T09:24:10Z
dc.date.issued2533
dc.identifier.isbn9745774545
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47964
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูพลศึกษา และนักเรียนเกี่ยวกับรายการกีฬาทางโทรทัศน์ที่มีผลต่อการเรียนวิชาพลศึกษาของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในกรุงเทพมหานคร โดยส่งแบบสอบถามไปยังครูพลศึกษาที่ทำการสอนอยู่ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 200 คน และนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 800 คน ได้รับแบบสอบถามกลับคืน 946 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 94.60 นำข้อมูลจากแบบสอบถามมาวิเคราะห์ ด้วยการหาร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยความคิดเห็นด้วยการทดสอบค่า “ที” (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. ครูพลศึกษา และนักเรียนมีความคิดเห็นเกี่ยวกับรายการกีฬาทางโทรทัศน์ ที่มีผลต่อการเรียนวิชาพลศึกษาในระดับมากทั้ง 4 ด้าน คือ การชมรายการกีฬาทางโทรทัศน์ที่มีความรู้ทางพลศึกษาและกีฬา การชมรายการกีฬาทางโทรทัศน์ช่วยเพิ่มพูนเทคนิคและทักษะทางกีฬา การชมรายการกีฬาทางโทรทัศน์มีผลต่อคุณธรรมและความประพฤติ และการชมรายการกีฬาทางโทรทัศน์มีผลต่อด้านนันทนาการ 2. เมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของครูพลศึกษากับนักเรียน และเปรียบเทียบความคิดเห็นของนักเรียนชายกับนักเรียนหญิง พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 เกือบทุกรายการen_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study and compare the opinions of physical education teachers and students concerning sports programs in television affecting physical education learning of the upper secondary school students in Bangkok Metropolis. The questionnaires were sent to 200 teachers and 800 students in which 946 questionnaires were returned. The obtained data were analyzed the differences in opinions of physical education teachers and students by using t-test. The major results were as follow : 1. Physical education teachers and students had opinions about sport television programs affecting physical education learning in high level every area such as on knowledge in physical education and sports, on increasing of sport skills and techniques, on morality and students’ behavior, and recreation and leisure time. 2. There were mostly significant differences at the .05 level between opinions of physical education teachers and students, and also between male and female students.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโทรทัศน์กับกีฬา -- ไทย -- กรุงเทพฯen_US
dc.subjectพลศึกษา -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en_US
dc.subjectสื่อมวลชนกับกีฬาen_US
dc.subjectรายการโทรทัศน์ -- ไทยen_US
dc.titleความคิดเห็นของครูพลศึกษาและนักเรียนเกี่ยวกับรายการกีฬาทางโทรทัศน์ ที่มีผลต่อการเรียนวิชาพลศึกษาของนักเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeOpinions of physical education teachers and students concerning sports programs in television affecting learning physical education of the upper secondary school students on Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineพลศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorthanomwong.k@chula.ac.th
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Vichakron_ch_front.pdf1.46 MBAdobe PDFView/Open
Vichakron_ch_ch1.pdf1.04 MBAdobe PDFView/Open
Vichakron_ch_ch2.pdf1.66 MBAdobe PDFView/Open
Vichakron_ch_ch3.pdf642.26 kBAdobe PDFView/Open
Vichakron_ch_ch4.pdf4.25 MBAdobe PDFView/Open
Vichakron_ch_ch5.pdf1.49 MBAdobe PDFView/Open
Vichakron_ch_back.pdf5.4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.