Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47989
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอิทธิพล ปานงาม-
dc.contributor.authorวรจักร คุปต์ถาวรฤกษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-06T13:38:32Z-
dc.date.available2016-06-06T13:38:32Z-
dc.date.issued2529-
dc.identifier.isbn9745672831-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47989-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529en_US
dc.description.abstractในการทดสอบเชื้อเพลิงผสมโปรปานอลกับน้ำมันเบนซิน ได้แบ่งการทดสอบออกเป็น 3 ชนิด ดังนี้ 1. การทดสอบหาสมรรถนะของเครื่องยนต์ คือการหา Brake power output, Brake Torque, Brake specific fuel consumption (Bsfc) ณ ความเร็วรอบต่าง ๆ ในตำแหน่งลิ้นปีกผีเสื้อเปิดเต็มที่ โดยไม่ได้ปรับแต่งเครื่องยนต์ 2. การทดสอบสมรรถนะของเครื่องยนต์ ณ ความเร็วรอบคงที่หนึ่ง ๆ คือการเปลี่ยน Air/Fuel ratio ด้วยการปรับนมหนูในคาร์บูเรเตอร์ โดยให้ความเร็วรอบเครื่องยนต์คงที่ เพื่อหา A/F ratio ที่ทำให้เครื่องยนต์ให้ Bsfc ต่ำสุด และ หา A/F ratio ที่ทำให้เครื่องยนต์ให้ power สูงสุด ณ ความเร็วรอบนั้น ๆ ในตำแหน่งลิ้นปีกผีเสื้อเปิดเต็มที่ การทดสอบในข้อนี้ ได้ทดสอบ ณ 2500, 3000, 3500 RPM รวม 3 ความเร็วรอบ 3. การทดสอบหาความสึกหรอของเครื่องยนต์ ได้ทำการทดสอบด้วยการเดินเครื่องยนต์ที่ตำแหน่งลิ้นปีกผีเสื้อเปิดเต็มที่ และปรับ load จนความเร็วรอบคงที่ ที่ 2500 RPM เดินจนรวมชั่วโมงได้ครบ 29 ชั่วโมง ขากนั้นก็นำน้ำมันหล่อลื่นไปทดสอบหาปริมาณโลหะด้วยเครื่อง X-Ray Fluorescence Spectrometer การทดสอบในข้อ 1 และข้อ 2 ได้ทำโดยใช้เชื้อเพลิง 3 ชนิด คือ ก. 100% Gasoline (premium) ข. 15% Isopropanol + 85% Gasoline (premium) ค. 25% Isopropanol + 75% Gasoline (premium) สาเหตุที่ใช้เชื้อเพลิงผสม 2 อัตราส่วนนี้ เนื่องจาก Heating value ของ Isopropanol ต่ำกว่าน้ำมันเบนซิน ถ้าใช้มากกว่านี้โดยไม่มีการปรับแต่งคาร์บูเรเตอร์เครื่องยนต์อาจจะเกิดอาการสะดุด เนื่องจากการขาดเชื้อเพลิง สำหรับการทดสอบในข้อ 3 ใช้เชื้อเพลิงทดสอบ 3 ชนิด คือ ก. 100% Gasoline (premium) ข. 15% Isopropanol + 85% Gasoline (premium) ค. 15% Ethanol + 85% Gasoline (premium) ผลการทดสอบในข้อที่ 1 ปรากฏว่าเมื่อเชื้อเพลิงที่ใช้ทดสอบมีสัดส่วนของโปรปานอลสูงขึ้น กำลังของเครื่องยนต์จะเพิ่มขึ้นเล็กน้อย และความสิ้นเปลืองของเชื้อเพลิง (Bsfc) จะลดลงเล็กน้อย ผลการทดสอบในข้อที่ 2 ปรากฏว่า เมื่อเชื้อเพลิงที่ใช้ทดสอบมีสัดส่วนของโปรปานอลสูงขึ้น กำลังสูงสุดของเครื่องยนต์จะเพิ่มขึ้นเล็กน้อย และความสิ้นเปลืองของเชื้อเพลิง (Bsfc) จะเพิ่มขึ้น แต่ประสิทธิภาพของเครื่องยนต์เท่ากัน ผลการทดสอบในข้อที่ 3 ปรากฏว่า เชื้อเพลิง 15% โปรปานอล ให้อัตราการสึกหรอต่ำที่สุด เชื้อเพลิงเบนซินพิเศษ ให้อัตราการสึกหรอสูงขึ้น ส่วนเชื้อเพลิงผสม 15% เอธานอลให้อัตราการสึกหรอสูงที่สุดen_US
dc.description.abstractalternativeThe experiment using Propanol and Gasoline as blended fuel was executed in 3 following ways : 1. Without adjustment, the engine was run at full throttle and at various speeds to determine performances of the engine such as brake power output, brake torque, brake specific fuel consumption (Bsfc). 2. The engine was run at full throttle and at 3 speeds respectively 2500 RPM, 3000 RPM and 3500 RPM in order to find 2 A/F ratios at which the engine yielded maximum power output and lowest Bsfc. At each speed, A/F ratio was often changed by adjusting main jet in carburetor while constant speed was maintained. 3. After the load was adjusted to the constant speed of 2500 RPM and the engine had been run for 29 hours, lubricant was taken for inspection of metal content with X-ray Fluorescence Spectrometer to determine engine’ wear. In test I and test 2, three kinds of fuel were used : a) 100% Gasoline (premium) b) 15% Isopropanol + 85% Gasoline (premium) c) 25% Isopropanol + 75% Gasoline (premium) Since Iso-propanol has lower heating value than Gasoline these two proportions, 15% and 25%, are considered most suitable to test. Otherwise, higher percentages of Iso-propanol may cause the engine, if without adjustment of carburetor, to stumble. In test 3, following fuels were used : a) 100% Gasoline (premium) b) 15% Isopropanol + 85% Gasoline (premium) c) 15% Ethanol + 85% Gasoline (premium) Test 1 shows that the fuel comprising higher proportion of Iso-propanol yields slightly more engine power output whereas Bsfc is slightly lower. In test 2, when the fuel are higher in proportion of Iso-propanol the maximum engine power output slightly increases while Bsfc becomes higher but all yield equal engine efficiency. The result of test 3 shows that the rate of engine’s wear is lowest when using blended fuel consisting of 15% Iso-propanol. But it becomes higher and highest when 100% Gasoline (premium) and 15% Ethanol were used respectively.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเครื่องยนต์สันดาปภายใน -- ระบบเชื้อเพลิงen_US
dc.subjectน้ำมันเบนซินen_US
dc.titleการใช้โปรปานอลเป็นเชื้อเพลิงผสม สำหรับเครื่องยนต์สันดาปภายในแบบจุดระเบิดด้วยหัวเทียนen_US
dc.title.alternativeThe use of propanol as a blended fuel for the spark ignition internal combustion engineen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเครื่องกลen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Vorachak_ko_front.pdf2.79 MBAdobe PDFView/Open
Vorachak_ko_ch1.pdf457.9 kBAdobe PDFView/Open
Vorachak_ko_ch2.pdf480.78 kBAdobe PDFView/Open
Vorachak_ko_ch3.pdf1.91 MBAdobe PDFView/Open
Vorachak_ko_ch4.pdf1.85 MBAdobe PDFView/Open
Vorachak_ko_ch5.pdf17.95 MBAdobe PDFView/Open
Vorachak_ko_ch6.pdf996.02 kBAdobe PDFView/Open
Vorachak_ko_ch7.pdf802.62 kBAdobe PDFView/Open
Vorachak_ko_back.pdf1.9 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.